Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
IATF 16949, การรักษาความลับของผลิตภัณฑ์, ภูมินทร์ ปาปะแพ B6309930 - Coggle…
IATF 16949
8.การปฏิบัติงาน
เริ่มกระบวนการ APQP วางแผนลพควบคุมการผลิตและการปฏิบัติงาน
การพิจารณาข้อกําหนดสําหรับผลิตภัณฑ์และบริการ
การสื่อสารกับลูกค้าเพื่อวางแผนและอธิยายสเปคของผลิตภัณฑ์
ทบทวนข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์และบริการ
การออกแบบและการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ
คงรักษาไว้ซึ่งแบบและการพฒันา
การป้องกันข้อผิดพลาดมากกว่าการตรวจจับข้อผิดพลาด Poka Yoke
ควบคุมการออกแบบและพัฒนา
การควบคุมผู้ให้บริการภายนอกด้านกระบวนการ, ผลิตภัณฑ์และการบริการ
เสถียรภาพทางการเงิน การขนส่งและโลจิสติกส์
SUP ทั้งที่ลูกค้ากำหนดและที่ลูกค้าไม่กำหนด
การควบคุมความเสี่ยงและสมรรถนะของ SUP
การตรวจประเมินโดยบุคคลที่2 Audit Sup
การประเมินความเสี่ยงของผู้ส่งมอบ
การตรวจประเมินผลิตภัณฑ์
การประเมินกระบวนการการผลิต
การผลิตและการบริการ
มีการควบคุมการผลิตและการบริการ
แผนควบคุมแบบ QCP
มาตรฐานการทำงาร
Q-Point EDI MOI WS เป็นต้น
การทำกระบวนการTPM
การตรวจสอบ ตรวจกลับได้
การดูแลรักษา เครื่องจักรและโรงงาน
การตรวจปล่อยผลิตภัณฑ์และบริการ
จะไม่มีการปล่อยผลิตภัณฑ์ให้กับลูกค้าถ้ายังไม่มีการตรวจปล่อย
ผลิตภัณฑ์ ต้องเป็นไแตามข้อกำหนดของลูกค้าและถูกต้องตามกฏหมาย
การควบคุมผลลัพธ์ ที่ไม่ไปเป็นตามข้อกําหนด
คำยินยอมอนุมัติโดยลูกค้า
ควบคุมผลิตภัณฑ์ที่ต้องสงสัย
การจัดการกับผลิตภัณฑ์ที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด
แจ้งเตือนลูกค้าสำหรับผลิตภัณฑ์ที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด
7.การสนับสนุน
ข้อกำหนดทั่วไป
ข้อจำกัดของทรัพยากรที่มีอยู่ให้ใช้อย่างคุ้มค่ามากที่สุด
บุคคลากร
การคัดเลือกหาบุคคลากรให้เพียงพอและเหมาะสมกับงาน
โครงสร้างพื้นฐาน
องค์กรต้องจัดหาและคงโครงสร้างพื้นฐานไว้เพื่อเป็นปัจจัยหลักในการดำเนินการให้บรรลุเป้าหมาย
รวมไปถึงสิ่งอำนวยความสะดวกของสภาพแวดล้อมและอุปกรณ์
ห้องปฏิบัติการ
ถายนอกและภายใน คือ
ความสามารถ
กำหนดความสามารถของบุคคลากรและจัดสรรให้เหมาะกับงานที่ได้รับ
หลักฐาน: ใบรับรองความสามารถ ใบเซอร์
การ OJT เป็นการสอบเชิงประฏิบัติการ หรือการใช้งานเครื่องจักร
ความตระหนัก
บุคคลากรที่ทำงานมีความเข้าใจและตระหนักถึงนโยบายคุณภาพและวัตถุประสงค์อื่นๆ
การสื่อสาร
ใช้หลักการ 5W2H มาสื่อสาร
เอกสารและข้อมูล
เอกสารทั่วไป เอกสารระบบบริหารคุณภาพ
6.การวางแผน
วัตถุประสงค์คุณภาพ และการวางแผนเพื่อให้บรรลุ
KPI
เป็นค่าค่าความต้อง ที่เป็นปริมาณสามารถวัดได้
ระบุจุดประสงค์คุณภาพอย่างชัดเจนให้เห็นได้ในทุกๆส่วนหน่วยงาน
มีการวางแผนเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์คุณภาพ
เป้าหมายแลพแผนงานเพื่อจะให้บรรลุเป้าหมาย
การดําเนินการเพื่อระบุความเสี่ยงและโอกาส
แผนรับมือความเสี่ยง โดยการป้องกันไว้ก่อน
จากการหาสาเหตุถ้าพบแล้วก็ดำเนินการสร้างแผนรับมือกับความเเสี่ยง หรือข้อผิดพลาดนั้นๆ
Action Plan
กิจกรรมที่ระบุความเสี่ยงและโอกาสที่คาดว่าจะได้รับ
การวิเคราะห์ความเสี่ยง
วิเคราะห์หาความเสี่ยงให้ครอบคลุม ถ้าพลาดไปให้เรียกคือ ผลิตภัณฑ์ และดำเนินการซ้อมแซมตามข้อร้องเรียนของลูกค้า
แผนสำหรับกรณีฉุกเฉิน
เป็นการจำลองสถานการจริงขึ้นมาเพื่อหาวิธีรับมือสำหรับกรณีฉุกเฉิน
การวางแผนเปลี่ยนแปลง
ต้องรู้วัตถุประสงค์หรือผลที่จะตามมาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
9.การประเมินสมรรถนะ
การติดตาม ตรวจวัด วิเคราะห์ และประเมิน
KPI เป็นค่าค่าความต้อง ที่เป็นปริมาณสามารถวัดได้
Monitoring
การเฝ้าติดตามและการตรวจวัด กระบวนการการผลิต
ความพึงพอใจของลูกค้า
การวิเคราะห์และประเมินผล
การตรวจติดตามภายใน
Internal Audit
ติดตามและตรวจผลตามระยะเวลาที่วางแผนไว้
การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
Management Review
การนำเอาความพึงพอใจของลูกค้า และผลจากการเฝ้าติดตามตรวจวัดมาทบทวน
เพิ่มโอกาสในการพัฒนาผลิตภัณฑ์
10.การปรับปรุง
สิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด
หาสาเหตุแล้วทำการแก้ไขข้อผิดพลาด
ระบบบริหารและการรับประกันสินค้า
การปรับปรุงอย่าต่อเนื่อง
การปรับปรุงให้ท้าทายมากกว่าเดิม เป็นการเพิ่ม KPIไปในตัว
การรักษาความลับของผลิตภัณฑ์
ภูมินทร์ ปาปะแพ B6309930