Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือลูคีเมีย (Leukemia)
เป็นโรคมะเร็งที่เกิดขึ้นในไ…
โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือลูคีเมีย (Leukemia)
เป็นโรคมะเร็งที่เกิดขึ้นในไขกระดูก เกิดจากมีเชลล์เม็ดเลือดขาวตัวอ่อนเติบโตมากผิดปกติโดยไม่ทราบสาเหตุ การแบ่งตัวอย่างไม่หยุดของเชลล์เหล่านี้ ได้ไปรบกวนการสร้างเม็ดเลือดปกติชนิดอื่นของไขกระดูก ทำให้เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาวปกติ และเกล็ดเลือดลดลง ส่งผลให้ผู้ป่วยมีภาวะโลหิตจาง มีเลือดออกผิดปกติ มีจ้ำเลือดตามร่างกาย ติดเชื้อง่าย นอกจากนี้เซลล์มะเร็งยังสามารถไปสะสมตามอวัยวะอื่นๆ เช่น ตับ ม้าม ต่อมน้ำเหลือง ทำให้ผู้ป่วยมีต่อมน้ำเหลือง ตับ ม้ามโต
พยาธิสรีรภาพ
อาการที่แสดงจากไขกระดูกล้มเหลว (bone marrow failure) แสดงอาการซีด อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย มีไข้ เป็นหวัดเรื้อรัง มีการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ มีจุดเลือดตามตัว เลือดออกง่าย มีเลือดออกในอวัยวะต่างๆ ผู้ป่วยจะมีการติดเชื้อได้ง่ายกว่าธรรมดา เนื่องจากเซลล์ปกติที่สร้างในไขกระดูก ได้แก่ เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาวและเกร็ดเลือดถูกแทนที่ด้วยตัวอ่อนที่เรียกว่า บลาส (blast) ทั่วไขกระดูก ผู้ป่วยจะมีอาการไข้ต่ำๆ อ่อนเพลีย ปวดกระดูก
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-
ภาวะเม็ดเลือดขาวมาก (Leukocytosis) เกิดจากการอักเสบติดเชื้อในร่างกายหรือมีความผิดปกติที่ไขกระดูก
WBC 16,000 cell/mm3
-
-
เป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว (Leukemia) หรือมีความผิดปกติของไขกระดูก (Myeloproliferative disorder) ทำให้ไขกระดูกสร้างเซลล์เม็ดเลือดขาวออกมามากกว่าปกติ
-
เป็นโรคระบบโลหิต ที่มีการแบ่งตัวของเม็ดเลือดขาวมากผิดปกติ จำนวนเม็ดเลือดขาวจึงมีมาก เม็ดเลือดขาวตัวอ่อนซึ่งยังเจริญไม่เต็มที่
ภาวะแทรกซ้อน
-
เสี่ยงต่อการช็อคได้ง่ายโดยโพาะรายที่มีค่าเม็ดเลือดรวม(ANC) น้อยกว่า 1,000ตัว/ลบ.ม.
-
-
-
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล
ซีดมากขึ้น และมีจ้ำเลือดเพิ่มขึ้นตามร่างกาย แขน และขา
-
-
3 เดือนก่อน admitted 7 วัน มีไข้ น้ำหนักลด ซีด มีจ้ำเลือดตามตัว แขนและขา รักษาด้วยยา (มารดาไม่ทราบชื่อยา) และให้เลือด
การรักษา
-
จากกรณีศึกษา ในการดูแลเรื่องของภาวะซีด Hct 20.5% แพทย์จึงให้เลือด (Leukocyte poor blood : LPB) 130 cc iv drip in 4 hr. ( 20/01/2565)
การตรวจวินิจฉัย
ผลเลือดจาก CBC
Hct 20.5%
Hb 7 mg%
WBC 16,000 cell/mm
Electrolyte
ภาวะเลือดเป็นกรด metabolic acidosis
Cl 114 mm/L สูง
CO3 17 mm/L ต่ำ
การตรวจไขกระดูก
ไขกระดูกเป็นชนิด M3 (เม็ดเลือดขาวตัวอ่อน 91%) ลักษณะรูปร่างเม็ดเลือดขาวเป็นชนิด L1 (ขนาดเซลล์เล็ก ไซโตพลาสซึมน้อย ไม่มีแวคคูโอล ย้อมติดสีฟ้าอ่อน)
-
การตรวจร่างกาย
-
ศีรษะ ใบหน้าและลำคอ: รูปร่างศีรษะและใบหน้าสมมาตร ผมเส้นละเอียดไม่ค่อยสะอาด ปากแห้ง ตามองเห็นชัดเจน เปลือกตาล่างค่อนข้างซีด
ระบบทางเดินหายใจ: ทรวงอกทั้งสองข้างขยายเท่ากันทั้งสองข้างเวลาหายใจเข้า-ออก ไม่พบเสียงหัวใจเต้นผิดปกติ RR 28 ครั้งต่อนาที สม่ำเสมอ:
ระบบหัวใจ หลอดเลือดและน้ำเหลือง: PR 112 ครั้ง/นาที สม่ำเสมอ ฟังเสียงหัวใจปกติ ชีพจรที่แขนและขาเท่ากัน สม่ำเสมอ ไม่พบต่อมน้ำเหลืองโต
-
-
-
-
การตรวจหาโรคภายนอก
เป็นการตรวจอวัยวะภายนอก: การตรวจหาร่องรอยเลือดออกผิดปกติบริเวณผิวหนัง และตา เป็นต้น
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
-
ระยะให้ยาเคมีบำบัด
-
-
-
-
มีโอกาสเกิดภาวะหลอดเลือดดำและผิวหนังบริเวณที่ได้รับยาเคมีบำบัดอักเสบเนื่องจากยาอาจรั่วซึมออกนอกเส้นเลือด
ข้อมูสนับสนุน
S: - มีอาการจ้ำเลือดตามตัว แขนและขา
- มีเลือดกำเดาไหล
- มีการบ่นปวดกระดูกขา แขนขาอ่อนแรงเล็กน้อย :
O: ได้รับการรักษาด้วย Chemotherapy สูตร(22/1/65)
- vincristine 0.8 mg iv
- Adriamycin 14mg iv
- L-asparaginas 3000 u iv
- methrotraxane 15 mg
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันภาวะหลอดเลือดดำและผิวหนังบริเวณที่ได้รับยาเคมีบำบัดอักเสบเนื่องจากยาอาจรั่วซึมออกนอกเส้นเลือด
เกณฑ์การประเมินผล
-
- ไม่มีอาการปวด เจ็บ บวม แดง พอง
- ไม่มีการไหลย้อนกลับของเลือดบริเวณที่ให้ยา
- ไม่เกิดแรงต้านของ syringe ระหว่างการให้ยา
การพยาบาล
-
เปิด extravasating kit โดยสวมถุงมือ nitrile gloves ใช้ syring 5/ml ดูดยาออกมาให้ได้มากที่สุด โดยดูดจากเข็มที่คาอยู่
ถ้ามียา anti dose ให้ฉีดยาโดยสช้เข็มที่คาอยู่กับผู้ป่วย แล้วดึงเข็มฉีดยาออก ห้ามใช้แรงกดบริเวณที่เกิด extravasation
-
-
-
ให้คำแนะนำผู้ป่วยสังเกตอาการปวด บวม แดง ร้อน และทา 1% hydrocortisone cream เช้า-เย็น ติดต่อกัน 3-7 วัน และประคบร้อน/เย็น ครั้งละ 15-30 นาที ทุก 4-6?ชั่วโมง ติดต่อกัน 3 วัน รวมทั้งยกแขนสูง 48 ชั่วโมง เพื่อลดแขนบวม
-
บันทึกรายงานการเกิดอุบัติเหตุการณ์ extravasation nวัน เวลา ชนิด ขนาดของยาเคมีบำบัด วิธีการให้ ชนิด ขนาดเข็มที่ให้ยา ปริมาณยารั่วซึม และการรักษาพยาบาลในบันทึกการพยาบาล
-
-
-
-