Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม - Coggle Diagram
กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
5.ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน (Testing, Evaluation and
Design Improvement)
ในการทดสอบการท างานของชิ้นงานหรือวิธีการควรมีการก าหนดประเด็นในการทดสอบ ให้สอดคล้อง
กับจุดประสงค์ของชิ้นงานหรือวิธีการที่สร้างขึ้น ซึ่งจะช่วยลดเวลาและท าให้การปฏิบัติงานง่ายยิ่งขึ้น โดยอาจท า
ได้ในรูปแบบของแบบประเมินรายการ หรือ การเขียนบันทึกผลการทดสอบในแต่ละประเด็น จากนั้นวิเคราะห์ผล
การทดสอบเพื่อหาแนวทางปรับปรุงแก้ไขชิ้นงานหรือวิธีการ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา (Solution Design)
เมื่อได้ข้อมูลองค์ประกอบพื้นฐานที่จ าเป็นต่อการพัฒนาแนวทางการแก้ปัญหาแล้ว ขั้นตอนต่อมาคือ
การออกแบบแนวทางแก้ปัญหาให้มีรายละเอียดที่ชัดเจนขึ้นและอาจออกแบบไว้หลายแนวทาง จากนั้นจึง
ตัดสินใจเลือกแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสมกับเงื่อนไขและขอบเขตของปัญหามากที่สุด โดยพิจารณาจากปัจจัย
ด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้อดี ข้อเสีย ความสอดคล้องกับทรัพยากรทางเทคโนโลยีที่มีอยู่ ปัจจัยที่ขัดขวางหรือ
ข้อจ ากัด ผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม การน าไปใช้งานเพื่อแก้ปัญหา ความประหยัด ความปลอดภัย การ
บ ารุงรักษา ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะของวิธีการหรือแนวทางการแก้ปัญหา ในการตัดสินใจเลือกแนวทางในการ
แก้ปัญหาเราสามารถใช้ตารางช่วยประเมินเพื่อตัดสินใจเลือก ส าหรับประเด็นในการตัดสินใจสามารถปรับเปลี่ยน
ได้ตามความเหมาะสม
รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา (Related Information Search)
เมื่อระบุและก าหนดขอบเขตของปัญหาที่ต้องการแก้ไขได้แล้ว การด าเนินการต่อไปคือการรวบรวม
ข้อมูลและความรู้ทุกด้านที่เกี่ยวข้องกับปัญหาหรือความต้องการ เช่น ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
เทคโนโลยีในขั้นนี้ควรมีการจดบันทึกผลการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมดเพื่อพัฒนาแนวทางในการแก้ปัญหา
ซึ่งก่อนการรวบรวมข้อมูลควรมีการก าหนดประเด็นในการสืบค้น ซึ่งอาจเริ่มจากการตั้งค าถามเกี่ยวกับสิ่งที่จ าเป็น
ต่อการแก้ปัญหาภายใต้ขอบเขตของปัญหาที่ระบุไว้ โดยใช้เทคนิคที่เรียกว่า การระดมสมอง (brainstorming)
ในการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหาอาจท าได้หลายวิธี เช่น
1.การสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตที่น่าเชื่อถือ
2.การสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญ
3.การสืบค้นจากเอกสาร บทความ งานวิจัย
4.การศึกษาดูงานจากสถานที่จริง
5.การทดลองทางวิทยาศาสตร์
6.น าเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน (Presentation)
การน าเสนอข้อมูลให้ผู้อื่นเข้าใจเกี่ยวกับภาพรวมของกระบวนการท างาน ตั้งแต่แนวคิดในแก้ปัญหา
ขั้นตอนการแก้ปัญหา รวมทั้งผลของการแก้ปัญหาและแนวทางการปรับปรุงแก้ไขให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่ง
สามารถท าได้หลายวิธี เช่น การเขียนรายงาน การท าแผ่นน าเสนอผลงาน
วางแผนและด าเนินการแก้ปัญหา (Planning and Development)
ก่อนการลงมือสร้างชิ้นงานควรมีการวางแผนโดยก าหนดล าดับขั้นตอนของการสร้างชิ้นงานหรือพัฒนา
วิธีการตามที่ได้ออกแบบไว้ มีการก าหนดเป้าหมายและเวลาในการด าเนินงาน รวมทั้งผู้รับผิดชอบงานในแต่ละ
ขั้นตอนอย่างชัดเจน จากนั้นจึงลงมือสร้างชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการตามที่ได้ออกแบบไว้
หลังจากวางแผนการท างานเรียบร้อยแล้ว ขั้นต่อไปเป็นการลงมือสร้างชิ้นงานตามแผนงานที่ได้ก าหนดไว้
ในการสร้างชิ้นงานควรเลือกใช้วัสดุให้เหมาะสมกับประเภทของงาน และอุปกรณ์ที่ใช้ในการท างานก็ต้องใช้ให้
ถูกต้องและค านึงถึงความปลอดภัยในการใช้งาน
ระบุปัญหา (Problem Identification)
เป็นการท าความเข้าใจสถานการณ์ของปัญหา โดยวิเคราะห์เงื่อนไขหรือข้อจ ากัดของสถานการณ์ เพื่อ
ตัดสินใจเลือกปัญหาหรือความต้องการที่จะด าเนินการแก้ไข และก าหนดขอบเขตของปัญหา ซึ่งจะน าไปสู่การหา
แนวทางในการแก้ปัญหาต่อไป โดยการน าเทคนิคหรือวิธีการต่าง ๆ มาช่วยในการวิเคราะห์ปัญหา เช่น การ
วิเคราะห์ด้วย 5W1H หรือ ผังก้างปลา (Fishbone Diagram) ซึ่งสามารถใช้ทักษะการตั้งค าถามด้วยหลัก 5W 1H
เมื่อเกิดสถานการณ์ปัญหาหรือความต้องการ