Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
องค์ประกอบเเละหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์เเละเทคโนโลยีการสื่อสาร -…
องค์ประกอบเเละหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์เเละเทคโนโลยีการสื่อสาร
1.ฮารด์เเวร์text (hardware)
1.1หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์และองค์ประกอบต่าง ๆซึ่งแบ่งการทำงานเป็นหน่วยต่าง ๆ ได้แก่ หน่วยรับเข้า หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยเก็บข้อมูลหรือหน่วยความจำและหน่วยส่งออก
1.1.2หน่วยประมวลผลกลาง (central processing unit :CPU)
ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลตามชุดคำสั่งที่
ซอฟต์แวร์ส่งมา
1.1.3หน่วยความจำ (memory unit)
แบ่งออกเป็น2ประเภท
หน่วยความจำหลัก(Main storage) เช่น ROM,RAM
ROM
RAM
หน่วยความจำรอง
(Secondary storage)เช่น
HDD, Flashdrive
HDD
flashdrive
1.1.4 หน่วยเเสดงผล (output unit)
ทำหน้าที่แสดงผลข้อมูล
moniter
printer
speakers
1.1.1หน่วยรับเข้า (input unit)
ทำหน้าที่รับข้อมูล
เข้าในระบบ
keyboard
microphones
webcam
mouse
3.ข้อมูล (data)
3.1หมายถึง ข้อเท็จจริงที่สื่อความหมายในรูปของข้อความ ตัวเลขสัญลักษณ์ หรือ รายละเอียดอื่น ๆ ที่สัมผัสได้ ข้อมูลเป็นข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหนึ่ง
3.1.1ข้อมูลปฐมภูมิ
ข้อมูลที่รวบรวมจากแหล่งข้อมูลโดยตรง เช่น ข้อมูลจากการบันทึกจากการสำรวจ การสอบถาม จากการอ่านรหัสแท่งของเครื่องเก็บเงิน จากการประสบพบเห็นด้วยตนเอง การทดสอบ การวัด
3.1.2ข้อมูลทุติยภูมิ
ข้อมูลที่มีผู้รวบรวมไว้ก่อนหน้าแล้ว เช่น สถิติจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน สามารถนำไปใช้ได้ทันนี้โดยไม่ต้องเสียเวลา รวบรวม อาจเป็นข้อมูลจากการถามคนอื่น หรือข้อมูลจากเอกสาร
4.บุคลากร
4.1มีความสำคัญอย่างมากเช่นกัน เพราะบุคลากรทำหน้าที่ควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ เขียนโปรแกรมสั่งการให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้
1.ผู้บริหารระบบ (System Manager)
2.นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) ทำหน้าที่ศึกษาปัญหาและความต้องการขององค์กร ความคุ้มค่า หาแนวทางแก้ไขปรับปรุงงานให้เกิดประโยชน์สูงสุด วางแผนและออกแบบระบบ ออกแบบและสร้างระบบสารสนเทศขึ้นใหม่ ตลอดจนคู่มือการใช้งาน
3.โปรแกรมเมอร์ (Programmer) ทำหน้าที่เขียนและสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อสั่งการให้คอมพิวเตอร์ทำงานจนได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ
4.เจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่อง (Computer Operator) ทำหน้าที่ติดตั้งโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ให้บริการด้านการใช้งาน ควบคุมการทำงาน และบำรุงรักษา
5.พนักงานข้อมูล (Data Entry Operator) ทำหน้าที่บันทึกข้อมูลลงในคอมพิวเตอร์ตามที่โปรแกรมกำหนด หรือเป็นผู้ใช้โปรแกรมก็ได้(USER)
6.การสื่อสารออนไลน์
การสื่อสารทางคอมพิวเตอร์และสมาร์ตโฟน เช่น การพูดคุยออนไลน์ การส่งภาพ ส่งข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนส่งอีเมล จะต้องใช้เครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อ ถึงกัน เช่น คอมพิวเตอร์ สมาร์ตโฟน แท็บเล็ต สามารถใช้บริการวายฟาย (WiFi) บริเวณที่มีสัญญาณวายฟายเรียกว่า ฮอตสปอร์ต (Hotspot) ซึ่งนอกจากสัญญาณ วายฟายแล้วยังสามารถเชื่อมต่อผ่านระบบสายน าสัญญาณเรียกว่า สายแลน (LAN: Local Area Network) สมาร์ตโฟนที่ใช้บริการ 3G 4G 5G และ 6G สามารถเชื่อมต่อ กับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้โดยไม่ต้องใช้สัญญาณวายฟาย
การเชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตต้องมีอุปกรณ์ต่างๆ และผู้ให้บริการ ดงัน้ี
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต เรียกว่า ไอเอสพี (ISP: Internet service provider) ให้บริการเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และบางบริษัทให้บริการโทรศัพท์ความเร็วสูงด้วย (ADSL)
สายนำสัญญาณอินเทอร์เน็ตเป็นสายนำสัญญาณความเร็วสูงปัจจุบันนิยมใช้สายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic) ซึ่งจะใช้สัญญาณแสงในการส่งสัญญาณแทนที่จะใช้ การส่งสัญญาณด้วยไฟฟ้าทำให้ในการส่งสัญญาณแต่ละครั้งจะไม่ถูกรบกวนจาก สนามแม่เหล็กไฟฟ้าต่างๆ สามารถส่งสัญญาณได้ไกล มีความปลอดภัยจากการโจรกรรม ข้อมูลเพราะส่งผ่านข้อมูลภายในเครื่อข่ายโดยใช้แสงเป็นตัวนำจึงยากที่จะดักจับข้อมูล ระหว่างทาง สายไฟเบอร์ออฟติกนั้นทำมาจากวัสดุที่เป็นฉนวนไฟฟ้า จึงไม่มีการนำกระแสไฟฟ้าและไม่เกิดการลัดวงจร อีกทั้งสายไฟเบอร์ออฟติกยังทำมากจากวัสดุที่ไม่ลามไฟ
เราท์เทอร์ (Router) เป็นอุปกรณ์จัดเส้นทางในการส่งผ่านข้อมูล เชื่อมต่อกับ อินเทอร์เน็ตและหาเส้นทางในการส่งผ่านข้อมูลที่เร็วที่สุด เป็นตัวแจกไอพีแอดเดรสไปยัง ผู้ใช้แต่ละเครื่อง
ฮับ (Hub) เป็นอุปกรณ์เชื่อมต่อสัญญาณไปยังเครื่องอื่นๆ เพื่อใช้ทรัพยากร ร่วมกัน เพียงติดตั้งสัญญาณจากช่องต่อของเราท์เตอร์เข้าที่ช่องทางออกของฮับ จะทำให้สามารถใช้อินเทอร์เน็ตได้ทุกเครื่องที่ต่อสายสัญญาณเข้ามา
สายนำสัญญาณสายที่ใช้เชื่อมต่อในระบบแลนเป็นสายที่มีสี่คู่บิดกันเป็นเกลียวเรียกว่าสายคู่บิดเกลียวมีสองชนิดคือ UTP และ STP
2.ซอฟต์เเวร์ (software)
ซอฟต์แวร์ระบบ (System software) เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้ นมาเพื่อใช้ควบคุมการท างานของฮาร์ดแวร์ มีชื่อเรียกว่า ระบบรับส่งข้อมูลพื้นฐาน(Basic Input Output
System: BIOS) หรือไบออสซอฟต์แวร์นี้ บันทึกในชิปชนิดซีมอส เรียกว่า เฟิ ร์มแวร์
(Firmware)ใช้ส าหรับตั้งค่าการท างานของฮาร์ดแวร์ต่าง ๆ ยังคงใช้กันอยู่จนปัจจุบัน
ซอฟต์แวร์ประยุกต์
application software
เป็นซอฟต์แวร์ที่มีผู้พัฒนาขึ้นมาใช้ทำงานเฉพาะทางเเบ่งเป็น
ซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ (Commercial ware)
ฟรีแวร์ (Freeware)
โอเพนซอร์ส (Open-source)
แชร์แวร์ (Shareware)
โปรแกรมประยุกต์ที่นิยมใช้กันทั่วไป
(general purpose software)
โปรแกรมประยุกต์ที่นิยมใช้กันทั่วไปส่วนใหญ่มักจะเป็นโปรแกรมสํานักงาน
ซึ่งก็คือโปรแกรมจัดการกับเอกสารและการค านวณในงานส านักงาน
โปรแกรมประมวลผลคำ
โปรแกรมตารางคำนวณ
โปรแกรมฐานข้อมูล
โปรแกรมนําเสนอ
โปรแกรมประชุมออนไลน์
โปรแกรมค้นดูเว็บ (Web browser)
ซอฟต์แวร์สำเร็จ (Package software)
ระบบคลาวด์ (Cloud computing) คือ ระบบจัดเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ของผู้ให้บริการเช่นกูเกิลไดรฟ์ ไมโครซอฟต์คลาวด์และอื่นๆ ซึ่งจะใช้การเชื่อมต่อผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ให้บริการรับฝากข้อมูล เช่น เมื่อนักเรียนจดที่อยู่อีเมลแอดเดรสแล้ว จะมีพื้นที่ให้ในระบบคลาวด์ระดับหนึ่งเพื่อบันทึกข้อมูลใว้นอกจากน้ี
ยังมีซอฟต์แวร์และทรัพยากรอื่นๆ ให้ใช้ทำให้สามารถทำงานในที่ต่างๆได้ทั่วโลกโดยไม่ต้องพกพาข้อมูลติดตัวไปด้วย
ซอฟต์แวร์ระบบ
System Software
เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้นตามจุดประสงค์
ของการใช้งาน เช่น ควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์
โปรแกรมระบบปฏิบัติการ
(Operating system)
โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating system) เป็ นโปรแกรมที่จัดการให้คอมพิวเตอร์ติดต่อกับฮารดแวรและโปรแกรมประยุกต์อื่นที่ติดตั้งไว้ในระบบเมื่อเปิ ดเครื่อง คอมพิวเตอร์จะอ่านโปรแกรมไบออส เรียกว่า การบูต (Boot)
เสร็จแล้วส่งการท างานมาอ่านโปรแกรมระบบปฏิบัติการ
โปรแกรมอรรถประโยชน์
(Utility Program)
เป็นซอฟต์แวร์ที่ทําหน้าที่เฉพาะอย่างเพื่อการจัดการงานพื้นฐานและบริการ
ต่างๆ เช่น การจัดเรียงข้อมูล (sort) การรวมแฟ้มข้อมูลที่เรียงลําดับแล้วเข้าด้วยกัน(merge) หรือย้ายข้อมูลจากอุปกรณ์รับหนึ่งไปยังอุปกรณ์หนึ่ง
รวมท้งัสามารถใช้จัดการกับฮาร์ดแวร์โดยตรงโปรแกรมอรรถประโยชน์
ส่วนใหญ่จะถูกรวมอยู่ในระบบปฏิบัติการอยู่แล้ว สามารถแบ่งออกได้เป็น2 ประเภท
ดังต่อไปนี่
1.โปรแกรมอรรถประโยชน์สําหรับระบบปฏิบัติการ (OS utility programs)
2.โปรแกรมอรรถประโยชน์อื่นๆ (Standalone utility programs)
5.ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
5.1เป็นภาคปฏิบัติของระบบสารสนเทศ ซึ่งเริ่มจากการเตรียมอุปกรณ์ต่าง ๆ เก็บรวบรวมข้อมูล นำข้อมูลมาผ่านกระบวนการประมวลผลและจัดเก็บเพื่อใช้งานต่อไป
1.รวบรวมข้อมูล เป็นการนำข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องมาจัดแบ่งเป็นหมวดหมู่
2.ประมวลผล เป็นการนำข้อมูลทั้งหมดที่รวบรวมไว้มาตรวจสอบความถูกต้อง
3.สารสนเทศ เป็นการนำข้อมูลที่ประมวลผลข้อมูลแล้วมาสรุปเป็นผลลัพธ์ ขั้นตอน การดำเนินการเพื่อให้เกิดสารสนเทศขึ้นมา