Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความเครียดของหญิงตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
ความเครียดของหญิงตั้งครรภ์
ความเครียดในหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกําหนด
" STRESS IN PRETERM LABOR PAIN
"
ผลกระทบของการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
กระทบต่อหญิงตั้งครรภ์
ทำให้หญิงตั้งครรภ์เกิดความเครียด
จากภาวะแทรกซ้อน
ภาวะครรภ์เป็นพิษ
ภาวะตกเลือดก่อนคลอด
จากการได้รับยาระงับการหดรัดตัวของมดลูก
จากการถูกจำกัดกิจกรรมโดยการนอนพักบนเตียงเป็นระยะเวลานาน
ผลกระทบต่อครอบครัว
ค่าใช้จ่ายทั้งของมารดาและทารก
ผลกระทบต่อทารก
ทารกคลอดก่อนกำหนด
น้ำหนักตัวน้อยกว่า 2,500 กรัม
มีภาวะหายใจลำบาก เลือดออกในสมอง มีการติดเชื้อ หลังคลอด
เกิดภาวะทุพพลภาพหรือเสียชีวิตภายหลังการคลอด
ระยะสั้น
ระยะยาว
มีปัญหาทางพัฒนาการทางกายและระบบประสาท
ผลกระทบต่อประเทศ
เสียงบประมาณตำนวนมากจากค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดู
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียดในหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ความเครียดจากการได้รับยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
ความเครียดจากการนอนพักในโรงพยาบาลเนื่องจากต้องถูกจำกัดกิจกรรมต่างๆ
ความเครียดจากสภาพแวดล้อมที่แปลกใหม่
ความเครียดเกี่ยวกับครอบครัวและเศรษฐกิจ ซึ่งทำใหหญิงตั้งครรภ์เกิดความรู้สึกโดดเดี่ยวเหมือนถูกเเยกก
ปัจจัยส่วนบุคล
อายุ โดยอายุมากสามารถตัดสินใจแก้ปัญหาได้ดีกว่าอายุน้อย
ระดับการศึกษา
อาชีพ ซึ่งจะสัมพันธ์กับการพักผ่อนของหญิงตั้งครรภ์
สถานภาพและสัมพันธภาพในครอบครัว
รายได้ของครอบครัวและการยอมรับการตั้งครรภ์
ความเครียดในหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกําหนด
ความเครียดเป็นปัจจัยที่สําคัญที่ส่งผลกระทบต่อภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกําหนด ทั้งนี้เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสารชีวเคมีในร่างกาย เกิดการหลั่งสารแคทีโคลามีน ทําให้ กล้ามเนื้อมดลูกมีการหดรัดตัว ส่งผลให้หญิงตั้งครรภ์มีอาการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกําหนดและ เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกําหนดได้
ยิ่งหญิงตั้งครรภ์มีความเครียดยิ่งไปกระตุ้นการหลั่ง อะดรีนาลีนและคอร์ติซอลมากขึ้นเช่นกันและฮอร์โมนเหล่านี้มีผลต่อการหดรัดตัวของมดลูก นอกจากนี้ในหญิงตั้งครรภ์ที่เครียดสูงจะทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการเผาผลาญในร่างกายทํา ให้มีการหลั่งฮอร์โมนต่าง ๆ มากขึ้น เช่น คอร์ติคอยด์ (Corticoils) แคททีโคลามีน (Cathteolamine) โกรธฮอร์โมน (Grow hormone) และ โพแลคติน (Polactin) ส่งผลให้ น้ําหนักตัวของหญิงตั้งครรภ์ลดลง อันส่งผลทําให้น้ําหนักของทารกแรกเกิดน้อยกว่าปกติ และ อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนตั้งครรภ์
ผลกระทบของความเครียดต่อหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกําหนด
ผลต่อการทํางานของระบบประสาท เมื่อเกิดความเครียดจะกระตุ้นการทํางาน ของระบบประสาทซิมพาเธติค ซึ่งมีหน้าที่กระตุ้นการทํางานของร่างกายให้มีความตื่นตัวรับรู้ เกี่ยวกับสถานการณ์ที่ทําให้เกิดความเครียด และไปกระตุ้นไฮโปทาลามัสให้มีการหลั่งของนอร์ อีพิเนฟฟริน เกิดการเพิ่มขึ้นของอัตราการเต้นของหัวใจ แรงบีบตัวของหัวใจ และความตึงตัว ของหลอดเลือด (Urech, C. et al., 2010) มีผลทําให้เลือดไปเลี้ยงมดลูกและทารกลดลง เป็นผลให้มดลูก หดรัดตัว เกิดการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกําหนด
ผลของการทํางานของระบบทางเดินหายใจ สภาพจิตใจและอารมณ์ที่มีภาวะ เครียดจากการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกําหนด จะทําให้หญิงตั้งครรภ์เกิดความไม่สุขสบาย หายใจ ติดขัด ใจสั่น มือสั่น ปวดศีรษะ
ผลต่อสภาพจิตใจและอารมณ์ ภาวะเครียดที่เกิดขึ้นจากการเจ็บครรภ์คลอดก่อน กําหนดส่งผลให้หญิงตั้งครรภ์ แสดงออกทางความเครียด ได้แก่ หงุดหงิดง่าย มีความรู้สึก ไม่มั่นคง รู้สึกเบื่อหน่าย นอนไม่หลับ
ผลต่อระบบทางเดินอาหาร ทําให้เกิดการระคายเคืองของกระเพาะอาหาร ลําไส้ ระบบขับถ่าย และการทํางานของกล้ามเนื้อเรียบ มีผลทําให้เกิดอาการจุกเสียดแน่นท้อง อาหารไม่ย่อย ท้องผูก มีอาการปวดหลังและสะโพก:
ผลกระทบของความเครียดต่อทารกในครรภ์
อัตราการเต้นของหัวใจทารกเร็วกว่าปกติ เมื่อเกิดภาวะเครียดจะมีการหลั่งของคอร์ ติโซนที่มากขึ้นทําให้หญิงตั้งครรภ์มีอารมณ์หงุดหงิดเกิดภาวะเครียด ซึ่งฮอร์โมนคอร์ติโซน จะผ่านรกเข้าสู่กระแสเลือดของทารกในครรภ์ เป็นผลให้ทารกมีการเคลื่อนไหวและอัตรา การเต้นของหัวใจที่เพิ่มมากขึ้น
ทารกเจริญเติบโตช้าและน้ําหนักตัวน้อยแรกคลอด ความเครียดที่เกิดขึ้นส่งผลให้ การไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงรกและทารกน้อยลง ทําให้ทารกเจริญเติบโตช้าและน้ําหนักตัว น้อยแรกคลอด
พัฒนาการของทารก ความเครียดที่เกิดขึ้นส่งผลให้ทารกหลังคลอดร้องกวนและมี พัฒนาการที่ล่าช้าในด้านของการเจริญเติบโตภายหลังคลอด
ความเครียดและการเผชิญความเครียดของมารดาวัยรุ่นครรภ์แรกหลังคลอด
Stress and Coping of adolescent mothers in first childbirth
ผลกระทบของความเครียดต่อทารกในครรภ์
คลอดทารกก่อนกำหนด
ไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้
เสี่ยงภาวะโรคแทรกซ้อน เช่นภาวะขาดแคลเซียม ขาดโปรตีน อาจก่อให้เกิดโรคโลหิตจาง
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเครียดในหญิงวัยรุ่นตั้งครรภ์
ปัจจัยภายใน
การเปลี่ยนแปลงฮอร์โมนเอสโตรเจนและโพรเจสเตอโรน
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
ความรู้สึกผิด หดหู่
ปัจจุยภายนอก
ไม่ได้รับการศึกษา
ขาดความรู้ในการเลี้ยงดูบุตร
การเปลี่ยนแปลงบทบาทการเป็นมารดาอย่างฉับพลัน
ครอบครัวไม่สนับสนุน
วิธีการเผชิญความเครียด
ตามทฤษฎีของลาซารัส
ได้แบ่งพฤติกรรมการ
เผชิญความเครียด
ได้ 2 แบบ คือ
การมุ่งเน้นแก้ปัญหา (Problem focused coping)
เป็นพฤติกรรมที่ใช้ในการเปลี่ยนแปลง
เหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความเครียด
โดยจะจัดการกับปัญหาโดยตรงหรือ
ปัญหาที่ก่อให้เกิดสภาพเครียด
การเปิดใจพูดคุยกับคนในครอบครัว
สอบถามในสิ่งที่ต้องการทราบกับแพทย์หรือพยาบาล
การมุ่งเน้นอารมณ์
เป็นพฤติกรรมที่บุคคลที่จะควบคุม
ความเครียดทางอารมณ์ โดยการปรับความรู้สึก
เพื่อรักษาสมดุลภายในจิตใจนำไปสู่แนวทางที่
จะรับรู้เหตุการณ์
การออกกำลังกาย
การสวดมนต์
การภาวนา
การฟังเพลง
การนั่งสมาธิ
ปัจจัยที่ทำให้มีความเครียดลดลง
มารดารับรู้ถึงความสามารถในการเลี้ยงดูบุตร
อาศัยอยู่กับครอบครัวที่เป็นลักษณะครอบครัวขยาย
การได้รับความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและการสนับสนุนทางสังคมในด้านต่างๆ
การได้พูดคุยกับเพื่อนที่มีประสบการณ์
การอ่านข้อมูลทางสื่อออนไลน์เมื่อมีปัญหา
Assessing Stress in Pregnancy and Postpartum- Comparing Measures
กลุ่มตัวอย่าง
หญิงตั้งครรภ์ 4811 ราย
T1 :
หญิงตั้งครรภ์ 20 สัปดาห์
T2
หญิงหลังตลอด
T3
หลังคลอด6เดือน
T4
เด็กอายุ7
T5
เด็กอายุ11ปี
T6
เด็กอายุ15ปี
T7
เด็กอายุ18ปี
ความสำคัญ
ความเครียดในระหว่างและก่อนตั้งครรภ์มีผลต่อพฤติกรรมของบุตรในอนาคตการที่สามารถประเมินปัจจัยต่างๆที่ส่งผลต่อความเครียดของหญิงตั้งครรภ์จึงมีความสำคัีญ
วิธีการศึกษา
เปรียบเทียบเครื่องมือประเมินความเครียด
the Edinberg Postnatal Depression Scale (EPDS)
a stressful life event (SLE) count based on 42-item inventory
the SLE measure weighted by perceived stressfulness(PS)
ใช้เครื่องมือวัด T1,T2,T3
Strength and Difficulties Questionnaire วัด T4-T7
ผลการศึกษา
EPDS แม่นยำ โดยเฉพาะในกลุ่มข้อมูลหลังคลอด
SLE สามารถประเมินความเครียดในแง่มุมต่างๆได้มากกว่า EPDS อย่างเดียว
ใช้เครื่องมือ 3 ชนิดนี้ร่วมกันนั้นจะสามารถประเมินและคาดการณ์ภาวะ EBD ได้อย่างแม่นยำมากขึ้น
ข้อจำกัด
ลักษณะของประชากรที่อาจจะนำมาสรุปในหญิงตั้งครรภ์ที่เคยแท้ง หรือ มีภาวะคลอดก่อนกำหนด หรือ มีบุตรเสียชีวิตหลังคลอดไม่ได้
จุดประสงค์การศึกษา
เปรียบเทียบเครื่องมือในการประเมินภาวะเครียด (Early Life Stress) ) ในหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดที่ส่งผลต่อ อารมณ์และพฤติกรรมของบุตร
ความตึงเครียดของสตรีมีครรภ์ในช่วง
การแพร่ระบาดของโรค Covid 19
ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อสตรีมีครรภ์
ทางด้านจิตใจ
อาจเกิดการคลอดก่อนกำหนด
มีภาวะซึมเศร้า
เกิดความเครียดในระยะก่อนคลอด
อารมณ์แปรปรวน
กลัวสูญเสียทารกในครรภ์
ทางด้านร่างกาย
ฮอร์โมนในร่างกายเปลี่ยนแปลง
น้ำหนักตัวลดลงแบบเฉียพลัน
ภูมิคุ้มกันแม่และ ทารกต่ำสารสื่อประสาทลดลง
คลอดก่อนกำหนด
คลื่นไส้ อาเจัียน
หัวใจและหลอดเลือดทำงานผิดปกติ
ความดันโลหิตสูงเรื้องรัง
ติดเชื้อบริเวณช่องคลอด
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความตึงเครียด
การดำเนินชีวิตที่เปลียนไป
ต้องกักตัวอยู่ที่พักอาศัยเป็นเวลานาน
เศษฐกิจในครอบครัวย่ำแย่
ความยากลำบากในการเข้าถึงบริการทางการพยบาล
ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อทารกในครรภ์จากความเครียดมารดา
ทารกในครรภ์จริญเติบโตผิดปกติ
ทารกไม่แข็งแรง
น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์
ภูมิคุ้มกันต่ำ