Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาสุขภาพจิตในเด็ก - Coggle Diagram
ปัญหาสุขภาพจิตในเด็ก
Separation anxiety disorder (SAD)
กังวลอย่างมาก เมื่อต้องแยกจาก
กลัวจะเกิดเหตุการณ์ที่ต้องพลัดพราก
กลัวตนเองเจ็บป่วย ถูกลักพาตัว
ไม่ยอมไป รร. หรือสถานที่ที่ต้องแยกจากผู้เลี้ยงดู
กลัวการอยู่คนเดียว
ไม่ยอมนอนคนเดียว
ฝันร้ายซ้ำๆเกี่ยวกับการพลัดพราก
มีอาการทางกายเวลาวิตกกังวล
การรักษา
: ยาคลายกังวล จิตบำบัด สุขภาพจิตศึกษา
การประเมินสุขภาพจิตเด็ก
General appearance
Psychomotor
Speech & Language
Thought & Perception
Mood & Affect
Development & Intelligence
Autism spectrum disorder (ASD)
ภาวะพัฒนาการผิดปกติที่เกิดจากความบกพร่องในการทำงานของ
สมอง โดยมี 3 ด้านที่สำคัญ ได้แก่ การพูดและการสื่อสาร ปฏิสัมพันธ์
ทางสังคม มีพฤติกรรมและความสนใจที่เป็นแบบแผนซ้ำๆ
DSM-5 criteria
A : บกพร่องด้านภาษาและทักษะสังคม
สร้างปฏิสัมพันธ์ทางอารมณ์หรือสังคมไม่ได้
บกพร่องด้านภาษาพูดและภาษากาย
บกพร่องในการสร้าง รักษา และเข้าใจความสัมพันธ์
B : มีพฤติกรรมหรือความสนใจซ้ำๆ อย่างน้อย 2 ข้อ
ยึดติดกับขั้นตอนบางอย่าง ไม่ยืดหยุ่น
มีการเคลื่อนไหวหรือพูดซ้ำๆ
ความสนใจแคบ หมกมุ่นกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งเกินไป
ประสาทสัมผัสไวเกินหรือน้อยเกิน
อาการ
: ไม่สบตา ไม่พาที ไม่ชี้นิ้ว
สาเหตุ
: ไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด
การรักษา
: ทำ IEP ฝึกทักษะทางสังคมและการสื่อสาร
Multidisciplinary management
Support parents
Early developmental
ABA, DIR floor time
Speech therapy
Occupational therapy
Appropriate education
Medication for specific target symptoms
Learning disorder
(LD)
อาการ
: อ่านเพี้ยน เขียนผิด คิดเลขมั่ว
สาเหตุ
: สมองส่วนการเรียนทำงานบกพร่องแต่กำเนิด
การรักษา
: ทำ IEP การศึกษาพิเศษ
ปัญหาในการอ่าน
อ่านผิด โดยใช้การเดา
อ่านข้ามคำยาก
สับสนเสียงวรรณยุกต์
สับสนตัวสะกด
จับใจความไม่ได้
อ่านช้า อ่านตะกุกตะกัก
ปัญหาในการเขียน
เรียงลำดับอักษรผิด
สะกดคำผิดบ่อยๆ
เขียนไม่ตรงบรรทัด ไม่เว้นช่องไฟ
ลายมือไม่สวย เขียนหวัด อ่านยาก
ผีดผ่อน หลีกเลี่ยงการเขียนรายงาน
เขียนประโยคสั้นๆง่ายๆ ไม่ค่อยให้รายละเอียด
ปัญหาในการคำนวณ
ไม่เข้าใจค่าตัวเลข
นับเลขไปข้างหน้าหรือย้อนหลังไม่ได้
คำนวณด้วยการนับนิ้ว
ไม่เข้าใจเรื่องเวลา
ไม่สามารถคูณ หารได้
ตีโจเลขไม่ได้
Intellectual disabilities
(ID)
คำจำกัดตาม DSM-5
ระดับเชาว์ปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ย
พฤติกรรมการปรับตนบกพร่อง 3 ด้าน
การเรียน การสื่อสาร และ BADL, IADL
เกิดในช่วง developmental period
สาเหตุ
ก่อนคลอด (Prenatal causes)
ปริกำเนิด (Perinatal causes)
หลังคลอด (Postnatal causes)
ไม่ทราบสาเหตุ (Unknown causes)
การรักษา
การใช้ยา
การให้ความรู้และการแนะนำ
การบำบัดฟื้นฟู
อาการ
: เชื่อคนง่าย ไร้ไหวพริบ คิดอ่านช้า
การรักษา
: ทำ IEP กระตุ้นพัฒนาการ
สาเหตุ
: พันธุกรรม โรคทางสมอง
Attention deficit hyperactivity disorder
(ADHD)
การวินิจฉัย DSM-5
ตั้งใจทำอะไรได้ไม่นาน
ไม่ใส่ใจรายละเอียด ไม่รอบคอบ
ทำงานไม่เสร็จ
ไม่ค่อยฟังเวลาพูดด้วย
มีปัญหาการจัดระเบียบในการทำงาน
หลีกเลี่ยง ไม่อยากทำงานที่ต้องใช้ความตั้งใจ
ทำของหายบ่อย
วอกแวกตามสิ่งเร้าง่าย
ขี้ลืมบ่อยๆในกิจวัตรประจำวัน
การรักษา
Medication : Ritalin, Concerta
Classroom management : มอบหมายงานทีละน้อย เน้นทำเสร็จ เสริมแรงเมื่อทำดี
Parent training : ลดสิ่งเร้า จัดสิ่งแวดล้อม มีระเบียบแบบแผน
สาเหตุ
: สาร Dopamine น้อยกว่าปกติ
Impulsive/Hyperactivity
อยู่ไม่นิ่ง ขยุกขยิก มือเท้าอยู่ไม่สุข
นั่งไม่ติดที่ ลุกจากที่นั่งบ่อยๆ
เล่นเงียบๆไม่ค่อยได้
ชอบวิ่งหรือปีนป่ายอย่างไม่ถูกกาลเทศะ
พูดมาก
เหมือนมีแรงขับเคลื่อนอยู่ตลอดเวลา
รอคอยไม่เป็น
พูดโพล่งตอบโดยที่ยังฟังคำถามไม่จบ
พูดแทรกหรือขัดจังหวะผู้อื่น
อาการ
: ซนเกินไป ใจลอย คอยไม่ได้
Oppositional defiant disorder
(ODD)
ODD criteria
ชอบต่อต้าน
มักเถียงผู้ใหญ่
มักท้าทาย ต่อต้านกฎเกณฑ์
มักโยนความผิดให้ผู้อื่น
มักตั้งใจก่อกวนผู้อื่น
เจ้าคิดเจ้าแค้น
มีเจตนาร้าย อาฆาตพยาบาท อย่างน้อย 2 ครั้งใน 6 เดือน
ขี้หงุดหงิด
มีอารมเสียบ่อย
มักโกรธหรือขุ่นเคืองใจ
ขี้โมโห ขี้รำคาญ
โรคดื้อต่อต้าน มี 3 ลักษณะเด่น คือ ชี้หงุดหงิดโมโหง่าย
ชอบโต้แย้งต่อต้าน และเจ้าคิดเจ้าแค้น
การรักษา : Family intervention, ปรับพฤติกรรม
กินยาควบคุมอารมณ์
สาเหตุ
: การเลี้ยงดูไม่เหมาะสม
ปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชเด็กและวัยรุ่น
0-5 ปี
ปัญหาด้านพัฒนาการ
ออทิสติก พัฒนาการช้า
6-12 ปี
ปัญหาการเรียน
ปัญหาพฤติกรรม (ติดเกม ซน)
สมาธิสั้น พฤติกรรมเกเร การเรียนบกพร่อง
13-19 ปี
ปัญหาพฤติกรรม(เพศ ก้าวร้าว)
ปัญหาด้านอารมณ์ (เศร้า กังวล)
พฤติกรรมเกเร
การทารุณกรรมในเด็ก
(Child abuse)
มี 4 รูปแบบ
การทำร้ายร่างกาย
การล่วงละเมิดทางเพศ
การละเลยทอดทิ้ง
การทำร้ายทางอารมณ์
โรคจิตเวชที่พบ
โรควิตกกังวลหลังเกิดเหตุร้าย (PTSD)
โรคซึมเศร้า (Depression)
การรักษา
Stabilization
Rehabilitation
Traumatic memory restructuring
โรคซึมเศร้า (Depression)
สาเหตุ
: พันธุกรรม ความเครียดที่รุนแรง เรื้อรัง
การรักษา
: ทำจิตบำบัด กินยาต้านเศร้า
อาการ
: อนาคตแย่ ท้อแท้อยากตาย เบื่อหน่ายชีวิต
Gaming disorder
ผลกระทบ
ปัญหาการเรียน
ปัญหาด้านสัมพันธภาพกับผู้อื่น
ปัญหาสุขภาพ
ปัญหาพฤติกรรมและอารมณ์
เป็นพฤติกรรมการเล่นเกมดิจิทัลหรือวิดีโอเกม
ทั้งออนไลน์และออฟไลน์อย่างต่อเนื่องหรือซ้ำๆ
พฤติกรรม
มีอารมณ์หงุดหงิด เศร้า
หมกมุ่นกับการเล่นเกม
ไม่สามารถควบคุมหรือลดได้
ใช้เวลากับเกมแต่ละครั้งนานขึ้นเรื่อยๆ
เล่นเกมเพื่อบรรเทาอาการเชิงลบ
หมดความสนใจกับกิจกรรมอื่นๆ
สาเหตุของปัญหาพฤติกรรมในวัยเรียน
ปัจจัยภายในตัวเด็ก
พื้นอารมณ์เป็นเด็กเลี้ยงยาก (difficult child)
พื้นอารมณ์เป็นเด็กปรับตัวช้า (slow to warm up child)
ป่วยเป็นโรคทางจิตเวช (psychiatric illness)
ปัจจัยด้านการเลี้ยงดู
การเลี้ยงดูแบบตามใจ (overindulgent)
การเลี้ยงดูแบบปกป้องมากเกินไป (overprotection)
การเลี้ยงดูแบบเข้มงวด (over controlled)
การเลี้ยงดูแบบปล่อยปละละเลย (neglect)
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
ผู้ใหญ่จัดการพฤติกรรมไม่เหมาะสม
อยู่ในกลุ่มเด็กเกเร สิ่งแวดล้อมไม่เอื้อ