Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงในระบบต่อมไร้ท่อของผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
การเปลี่ยนแปลงในระบบต่อมไร้ท่อของผู้สูงอายุ
ต่อมหมวกไต
ต่อมใต้สมอง
ต่อมพาราไทรอยด์
พาราไทรอยด์ลดลง และมีฮอร์โมนชนิดไตรไอโอธัยโรนินลดลง เนื่องจากต่อมไทรอยด์มีการเกิดพังผืด ทำให้ผู้สูงอายุเกิดภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนการสร้างฮอร์โมนจึงลดลง
ฮอร์โมนเพศ
เพศชาย
เทสโทสเทอโรน (Testosterone)
เทสทอสเทอโรน (Testosterone) เป็นฮอร์โมนเพศชาย ประมาณร้อยละ 95 ผลิตมาจากเซลล์เลย์ดิก (Leydig cells) ของลูกอัณฑะ ที่เหลือส่วนน้อยผลิตจากต่อมหมวกไต (Adrenal glande)
ช่วยสลายไขมัน เพิ่มกล้ามเนื้อลดระดับ LDL (ไขมันเลว)ในเลือด
เมื่อเข้าสู่ช่วงสูงวัย ฮอร์โมนเพศจะลดลง
เป็นผลให้กล้ามเนื้อลดลงแต่ไขมันเพิ่มขึ้น
ส่งผลให้นํ้าตาลและไขมันในเลือดสูงขึ้น
การขาดฮอร์โมนเพศทําให้อวัยวะเพศไม่
แข็งตัวและขาดอารมณ์ทางเพศ และมีผล
ต่อการเกิดภาวะกระดูกพรุน
เพศหญิง
เอสโตรเจน (Estrogen)
เอสโตรเจน (Estrogens) เป็นฮอร์โมนที่สร้างจากเซลล์ของรังไข่ในเพศหญิง
เป็นฮอร์โมนเพศหญิง เมื่อมีการผลิตลดลง
จะทําให้เกิดการขาดประจําเดือน
(Menopause) ทําให้เกิด หนังเหี่ยวและ
กระดูกพรุน ระดับไขมันในเลือดสูงตามมา
และมีอารมณ์ผันผวนควบคุมอารมณ์ได้ยาก เราเรียกว่าวัยหมดประจําเดือนหรือวัยทอง
การพยาบาลและคำแนะนำในการดูแลผู้สูงอายุเกี่ยวกับการชะลอความเสื่อมของระบบต่อมไร้ท่อ
นวัตกรรมที่ช่วยในการป้องกันหรือชะลอความเสื่อมของผู้สูงอายุ
การพยาบาลและคำแนะนำในการดูและผู้สูงอายุ
ตับอ่อน
ตับอ่อน มีหน้าที่สำคัญที่ช่วยร่างกายสร้างน้ำย่อยอาหารโดยเฉพาะไขมันและสร้างฮอร์โมนที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด โดยทำหน้าที่ผลิตสารอินซูลิน
ในผู้สูงอายุตับอ่อนจะมีผังผืดเพิ่มมากขึ้น ท่อตับอ่อนโตขึ้น
และมีการเปลี่ยนแปลงที่เซลล์ส่วนที่ฮอร์โมนอินซูลินไปออกฤทธิ์ ทำให้อินซูลินไม่สามารถออกฤทธิ์ได้เต็มที่ จึงพบว่ามีผู้สูงอายุเบาหวานเพิ่มสูงขึ้นตามอายุที่เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่มีภาวะอ้วน
ต่อมไพเนียล
ต่อมไพเนียล เป็นส่วนหนึ่งของสมองส่วนกลาง
และช่วยการกระตุ้นการปรับเปลี่ยน
ระบบนาฬิกาของร่างกาย
เมลาโทนิน (Melatonin) เป็นฮอร์โมน
ที่ผลิตจากสารเซโรโทนิน ที่เซลล์ไพเนียล
ซึ่งอยู่ในต่อมไพเนียล
ผลิตจากต่อมไพเนียลในตอนกลางคืน ผลิตได้ดีในความมืด
คนส่วนใหญ่จะมีระดับเมลาโทนินลดลงเมื่ออายุ 40 ปีขึ้นไป
ฮอร์โมนควบคุมการนอนหลับและภูมิต้านทานของร่างกาย
เมื่อฮอร์โมนนี้ลดลงจะเป็นเหตุให้ผู้สูงวัยเป็นโรคนอนไม่หลับ