Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาของระบบทางเดินหายใจ, อ้างอิง, ผู้จัดทำ - Coggle Diagram
พยาธิสรีรวิทยาของระบบทางเดินหายใจ
Conducting division
ตั้งแต่ nasal cavity, pharynx, larynx, trachea, bronchi, bronchiole, terminal bronchiole
1.โรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ (allergic rhinittis)
พยาธิสภาพ :
มีความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันร่างกายมีอาการแสดงทางจมูก
สาเหตุ :
ได้รับสารก่อภูมิแพ้เข้าแล้วเกิดการอักเสบของเยื่อบุจมูก
อาการ :
อาการคัน น้ำมูกไหล จาม คัดจมูก
การตรวจ :
หาจำนวนเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบจากภูมิแพ้ พบ eosinophil ในเลือดสูง
2.ไข้หวัด (common cold)
ประเภท
1)
exudate
ที่เป็นน้ำหรือมูกใส เรียก
"catarrhal inflammation"
2)
exudate
ที่ข้นหรือเป็นหนอง เรียก
"purulent inflammation"
สาเหตุ :
เป็นการติดเชื้อของจมูกและคอ upper respiratory tract infection
อาการ :
เมื่อเชื้อเข้าจมูกและคอทำให้เยื่อจมูกบวมและแดงหายเอง 1 สัปดาห์
3.โรคริดสีดวงจมูก (nasal polyp)
สาเหตุ :
การติดเชื้อ โรคภูมิแพ้ และภาวะอื่น ๆ
อาการ :
เยื่อบุจมูกอักเสบ บวมขึ้นเรื่อย ๆ มีนำคั่งกลายเป็นก้อนในจมูก ทำให้เกิดเป็นก้อนในจมูกมาก บางครั้งก้อนใหญ่จนอ้าปากก็มองเห็น
4.ไซนัสอักเสบ (sinusitis)
ประเภท
1)
exudate
ที่เป็นหนอง เรียก
"empyema"
2)
exudate
ที่เป็น mucous เรียก
"mucocele"
สาเหตุ
1) การติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจตอนบน
2) การติดเชื้อของฟัน
3) โรคติดเชื้ออื่น ๆ เช่น ไข้หวัดใหญ่ หัด ไอกรน
4) การว่ายน้ำดำน้ำ เกิดการสำลักน้ำเข้าจมูกและไซนัส
5) การกระทบอย่างแรง บริเวณใบหน้าไซนัสโพรงอันใดโพรงหนึ่งแตกหัก
6) มีสิ่งแปลกปลอมในจมูก เช่น เมล็ดผลไม้ก่อการอุดตันโพรงจมูก
อาการ :
รูเปิดของไซนัสมีขนาดเล็กลง การอักเสบอาจตีบหรือตันง่าย
5.กล่องเสียงอักเสบ (laryngitis)
สาเหตุ :
croup หรือ laryngotracheobronchitis เกิดเชื้อไวรัสการอักเสบทำให้ทางเดินหายใจตีบเวลาหายใจมีเสียงดัง stridor
อาการ
larygeal polyp
เป็นตุ่มนูนจากผิวของ vocal cord การระคายเคืองเรื้อรังทำให้เสียงแหบ
หายใจเสียงดังกรุ๊ป ขณะหายใจเข้า upper airway obstruction
6.คออักเสบ (pharyngitis)
สาเหตุ :
คออักเสบจากเชื้อ Beta Streptococcus group A พบบ่อยในระบบทางเดินหายใจ สาเหตุจากการติดเชื้อไวรัส
อาการ :
ไม่มีน้ำมูก ไอ มีไข้สูง เจ็บคอ ตรวจพบคอแดง
Respiratory division
ตั้งแต่ respiratory bronchiole ,alveolar duct ,alveolar sac ,alveoil
1.หลอดลมโป่งพอง (bronchiectasis)
สาเหตุ :
ภาวะที่หลอดลมขนาดเล็กเกิดการพองถาวร และเกิดการเปลี่ยนแปลงของเยื่อบุผิว พบมากในช่วงอายุ 20-30 ปี
อาการ :
เสมหะเป็นหนองมากและมีกลิ่นเหม็น ถ้าตั้งทิ้งไว้จะแยกเป็น 3 ชั้น
1) ชั้นล่างสุดเป็นหนองข้น
2) ชั้นกลางเป็นของเหลว/ใส
3) ชั้นบนสุดเป็นฟอง
2.หลอดลมอักเสบเรื้อรัง (chronic bronchitis)
สาเหตุ :
การติดเชื้อเรื้องรัง ภูมิแพ้ ฝุ่นละอองและการสูบบุหรี่เป็นเวลานาน มี mucous secreting gland จำนวนมาก
อาการ
มีอาการไอ มีเสมหะ ติดต่อกันทุกวันนานกว่า 6 เดือนขึ้นไป หรือเป็นอยู่อย่างน้อยปีละ 3 เดือนติดต่อกัน 2 ปีขึ้นไป
มีการหลั่งเมือกหรือเสมหะ ออกมามากว่าปกติ ทำให้ลมหายใจเข้าออกได้ยากขึ้นกว่าเดิม
3.หอบหืด (bronchial asthma)
1.extrinsic asthma
สาเหตุ
และ
อาการ
Ag กระตุ้นให้มีการสร้าง IgE มาเกาะติด Mast cell เมื่อ Mast cell แตกออกทำให้หลอดลมบวม หดเกร็ง และมีสารคัดหลั่ง (secretion)
การแพ้สารภายนอก เช่น ฝุ่นละออง
2.intrinsic asthma
สาเหตุ
การติดเชื้อของทางเดินหายใจ หรือสาเหตุอื่น ๆ เช่น การออกกำลังกาย การสูบบุหรี่
องค์ประกอบที่ภายในร่างกาย ปริมาณ IgE ไม่สูง
อาการ
มีการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นมาก ทำให้มีการหดเกร็งของหลอดลม มีเสมหะมาก
ขณะมีอาหารหอบหืด หลอดลมจะมีขนาดตีบลงเนื่องจาก 3 กรณี
1)
มีการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบทางหลอดลม หลอดลมเล็ก และ bronchiole
2)
เยื่อบุหลอดลมจะหนาขึ้นกว่าปกติ มี inflammatory cell ส่วนใหญ่เป็น eosinopil และ neutrophil
3)
มีเสมหะเป็นมูกเหนียวและมี eosinophil จะจับติดอยู่ตามผนังหลอดเลือดหรืออุดอยู่ในแขนงหลอดลมเล็ก
4.ปวดบวมน้ำ (pulmonary edema)
เป็นภาวะที่มีการค้่งของสารน้ำในถุงลมของเนื้อปอด ไม่สามารถแลกเปลี่ยนก๊าซได้ตามปกติ อาจมีภาวะหัวใจล้มเหลว
5.น้ำในเยื่อหุ้มปอด (pleural effusion)
1.น้ำในเยื่อหุ้มปอดที่เป็นของเหลวใส (transudative pleural effuusion) มีสาเหตุเกิดจากหัวใจล้มเหลวไตวาย ตับแข็ง
2.น้ำในเยื่อหุ้มปอดที่เป็นของเหลวขุ่นมักเกิด จากการอักเสบ เช่น การติดเชื้อในปอด วัณโรค มะเร็งปอด
6.ลมในเยื่อหุ้มปอด (pneumothorax)
ขณะหายใจเข้า :
อากาศจากภายนอกไลป่านเข้าช่องเยื่อหุ้มปอดทางบาดแผล ตามแรงดันลบของช่องเยื่อหุ้มปอด
ขณะหายใจออก :
มีอากาศถูกดันออกจากช่องเยื่อหุ้มปอดเพียงเล็กน้อย ทำให้มีอากาศค้างเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในช่อง
Tensionpneumothorax :
เกิดจากการมีแผลฉีกขาดที่ผนังอกทะลุเข้าสู่ช่องเยื่อหุ้มปอด
7.วัณโรคปอด (pulmonary tuberculosis)
1.Primary pulmonary tuberculosis
พยาธิสภาพ
เกิดขึ้นในรายที่รับเชื้อวัณโรคในครั้งแรก
รอยโรคครั้งแรกมักเป็นบริเวณเนื้อปอดที่อากาศถ่ายเทได้มากที่สุด ได้แก่ ส่วนล่างของปอดกลีบบนและส่วนบนของปอดกลีบล่าง
เนื้อตายมีขนาดเล็ก ถูกกำจัดโดย macrophage
2.Post primary pulmonary tuberculosis
พยาธิสภาพ
เกิดขึ้นที่ส่วนใหญ่จะเกิดจากเชื้อที่สงบอยู่ในอวัยวะต่าง ๆ
มักเป็นบริเวณ Apex หรือ subapical
รอยโรคเป็น tubercle และ caseation
8.ถุงลมแฟบ (Atelectasis)
พยาธิสภาพ
ภาวะถุงลมแฟบโดยไม่เคยขยายตัว เคยขยายตัวแล้วแล้วกลับแฟบลงภายหลัง
ติดเชื้อได้ง่ายเนื่องจากการอุดกั้นทางเดินหายใจ เช่น เสมหะ สิ่งแปลกปลอม
เกิดขึ้นกับเนื้อปอดปริมาณมาก ทำให้ขาดออกซิเจน
9.ถุงลมโป่งพอง (Emphysema)
พยาธิสภาพ
เป็นโรคที่เนื้อเยื่อปอดค่อย ๆ เสื่อมสมรรถภาพจากการได้รับควันบุหรี่
ควันบุหรี่จะทำลายเนื้อเยื่อในปอดและในถุงลมให้ฉีกขาดทีละน้อย และรวมตัวกลายเป็นถุงลมที่มีขนาดใหญ่ขึ้น
พื้นผิวเนื้อเยื่อภายในปอดรับออกซิเจนเข้าร่างกายมีขนาดเล็กลง จึงต้องหายใจเร็วขึ้นเพื่อให้ออกซิเจนเข้าสู่ร่างกายเพียงพอ
10.ปอดอักเสบ (pneumonia)
พยาธิสภาพ
เนื้อปอดมีการบวม หนองขังเกิดอาการหายใจ หอบ เหนื่อย
เกิดจากเชื้อไวรัสแบคทีเรีย เชื้อรา ปรสิต หรือ สิ่งแปลกปลอมจากการสูดดมสารเคมี
lobar pneumonia
เป็นปอดบวมมักเกิดจากเชื้อ Pneumococci
bronchonpneumia
เป็นรอบ ๆ หลอดลมส่วนปลายและกระจัดกระจายไปมากกว่ากลีบใดหนึ่งของปอด
การตรวจระบบระบบทางเดินหายใจ
การดู (inspectation)
1.รูปร่างลักษณะทรวงอก
ปกติ :
ความหนาเส้นผ่านศูนย์กลางจาก antero-posterior diameter ต่อ lateral diameter มีค่าประมาณ 1:2
ผิดปกติ :
รูปร่างกลมแบน antero-posterior diameter ต่อ lateral diameter สัดส่วน 1:1
2.ขนาดทรวงอก
ดูขนาดทรวงอกทั้ง 2 ข้าง โดยรวมและเปรียบเทียบกัน
3.การเคลื่อนไหวของทรวงอก
สัมพันธ์กับการหายใจทรวงอกขยายตัวเมื่อหายใจเข้าและแฟบเมื่อหายใจออก
4.อัตราการหายใจ
ความลึก จังหวะ การเคลื่อนไหวของทรวงอกแต่ละข้าง
การคลำ (palpation)
1.การสั่นสะเทือน (tactile fremitus)
ปกติ :
ความรู้สึกสั่นสะเทือนจะมากที่สุดที่บริเวณข้าง ๆ กระดูกหน้าอกที่ช่องระหว่างซี่โครงที่ 2
ผิดปกติ :
tactile fremitus เพิ่มขึ้นอาจเกิดจากมีการแข็งตัวของเนื้อปอด
2.การขยายตัวของปอด (expansion of lungs)
ใช้นิ้วหัวแม่มือทั้ง 2 วางใกล้กระดูก xyphoid process
ปกติ :
เมื่อผู้ป่วยหายใจเข้าฝ่ามือจะขยายในระยะที่เท่ากัน พร้อมกัน
ผิดปกติ :
ถ้านิ้วหัวแม่มือข้างใดเคลื่อนไหวได้น้อยกว่า แสดงว่าปอดข้างนั้นอาจมีการอักเสบหรือมีก้อนในปอดข้างนั้น หรือมีย้ำหรือมีหนองขังในโพรงเยื่อหุ้มปอด
การเคาะ (percussion)
ตำแหน่งการเคาะ
ด้าหน้า :
ผู้ป่วยนอนหงาย เคาะที่กระดูกไหปลาร้า และช่องว่างของกระดูกซี่โครงที่ 2 ถึง 6 โดยเคาะห่างจาก sternum ประมาณ 2.5 cm. เคาะเทียบทั้ง 2 ข้าง โดยเคาะจากบนลงล่าง
ด้านหลัง :
วางนิ้วกลางตามซี่โครงและเคาะเปรียบเทียบเสียงเคาะ เคาะจากด้านบนลงล่าง โดยเคาะตามแนวใต้กระดูกสะบัก หรือ scapular line จนถึงช่องซี่โครงที่ 11 และ posterior axillary line จากช่องซี่โครงที่ 4 ถึง 10
ลักษณะของเสียงการเคาะ
resonance
เป็นเสียงที่เกิดจากการเคาะบริเวณเนื้อปอดปกติ
dullness
เยื่อหุ้มปอดหนา ปอดแฟบ
flatness
มีของเหลวในปอดมาก เช่น น้ำ เลือด หนอง
hyper resonance
โรคถุงลมโป่งพอง ลมในเยื่อหุ้มปอด
การฟัง (auscultation)
การฟังเสียงผิดปกติ
crepitation
เสียงดังไม่ต่อเนื่องเสียงสั้นและเกิดจากอากาศผ่านน้ำเมือกในหลอดลมฝอย
rhonchi
เสียงต่อเนื่อง เกิดจากอากาศผ่านหลอดลมใหญ่ที่ตีบแคบและมีน้ำเมือกหรือ exudate ขวางเป็นระยะ
wheezing
เป็นเสียงสูงต่ำ เกิดจากอากาศผ่านหลอดลมเล็กที่ตีบแคบและมีน้ำเมือก หรือ exudate ขวางเป็นระยะ
pleural friction rub
เสียงคล้ายการถูไถไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อมีการไอ เกิดจากการเสียดสีเยื่อหุ้มปอดที่อักเสบ
stridor
เสียงสั่นหยาบที่เกิดจากลมหายใจที่ผ่านท่อทางเดินหายใจขนาดใหญ่ที่ตีบแคบ
อ้างอิง
error
เอกสารประกอบการเรียนการสอน ; Respiratory Assessment ของพลอยลดา ศรีหานู (2565)
เอกสารประกอบการเรียนการสอน ; Pathology of Respoirstory system ของ Waritta Kunprom
ผู้จัดทำ
นางสาวศิริวรรณ ชื่นมณี
รหัส
64128301084
นางสาวสุดารัตน์ เภกอง
รหัส
64128301092