Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการเรียนรู้ครั้งที่ 1, การรักษา : สารน้ำทดแทน เสียเลือด> 20%…
สรุปการเรียนรู้ครั้งที่ 1
LOWER RESPIRATORY
TRACT INFECTION
ACUTE BRONCHITIS
ระยะแรก 1-5 วัน จะมีอาการไอมาก และอาจจะมีอาการอื่นๆ ขึ้นอยู่กับเชื้อแต่ละชนิด
ระยะที่สอง 5-20วัน จะมีอาการไอ เสมหะ จาก bronchial hypersensitivity
การรักษา
education
β2-agonist ในรายที่มี wheezing
antitussive จำกัดการใช้เฉพาะรายที่ไอมาก
ในรายที่สงสัย pertussive ให้ ATB กลุ่ม macrolide หรือให้เพื่อกดการไอในรายที่ไอไม่มีเสมหะ
BRONCHITIS จากไข้หวัดใหญ่ ให้ Oseltamivir ให้ใน 48 ชม.แรก
PNEUMONIA
อาการ
: ไข้ ไอ เหนื่อย ฟัง Lung ได้ Crepitation
Community-acquired pneumonia (ปอดอักเสบชุมชน) เชื้อรุนแรงต่ำ
การรักษา
OPD case with significant comorbidity
Levofloxacin
Moxifloxacin
Betalactam+Macrolide
OPD case : Macrolide
clarithromycin
Azithromycin
INFLUENZA BRONCHITIS
อาการ :
ไข้เฉียบพลัน ไอ เจ็บคอ คัดจมูก น้ำมูกไหล
ยาที่ใช้รักษา
Oseltamivir
Antiviral
ให้ในรายที่มีอาการรุนแรง หรือเป็นกลุ่มเสี่ยง
มีระยะฟักตัว 1-4 วัน สามารถเริ่มแพร่เชื้อได้ตั้งแต่ 24ชั่วโมงก่อนเริ่มมีอาการ ถึง 3-5 วัน ติดต่อทางการสัมผัสและทาง droplets ระยะห่าง<1เมตร *airborne ติดต่อได้แต่น้อย
ส่งตรวจ nasal swab (IFA) for influenza ในช่วงระบาด กลุ่มเสี่ยง
Pulmonary tuberculosis
ระดับความเสี่ยง
ความเสี่ยงต่อการสัมผัสโรค (risk of exposure)
ขึ้นอยู่กับความถี่/ระยะเวลาที่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วย
ความเสี่ยงต่อการติดเชื้อวัณโรค (risk of infection)
ความเสี่ยงต่อการป่วยเป็นวัณโรค (risk of developing active disease)
ขึ้นอยู่กับ Host
ความเสี่ยงต่อการเสียชีวิต
เกิดได้ทุกอวัยวะของร่างกาย เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย mycobacterium tuberculosis
ติดต่อทางอากาศ airborne transmission) ไปได้ไกล 5m.
ปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่กระจายเชื้อ
ปัจจัยด้านผู้ป่วยวัณโรค,ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม,ปัจจัยด้านระบบบริการ
อาการ
ไอเรื้อรังเป็นมา 3 เดือน ไอ มีเสมหะ ไข้ต่ำ เบื่ออาหาร
การตรวจร่างกาย
ถ้าปอดมีเสมหะเยอะ ฟัง lung ได้ crepitation
ถ้าพยาธิสภาพเป็น consolidation>Bronchial breath sound
ถ้ามี lesion ที่หลอดลม>rhonchi
LAB
สารคัดหลั่งจากส่วนต่างๆของร่างกาย หรือตัวอย่างที่ได้มาจากอวัยวะที่ส่งสัย
วิธีการตรวจ
วิธีการตรวจหาเชื้อที่ใช้บ่อย acid fast bacilli(AFB)
ตรวจเพาะเลี้ยงเชื้อ(mycobacterial culture and identification)
ทดสอบความไวต่อยา (drug susceptibility testing)
ทดสอบทางอณูชีววิทยา (molecular biology testing)
ทดสอบแอนติเจนของเชื้อวัณโรค (TB antigen testing)
ทดสอบการตอบสนอง (immune reactivity testing)
ยารักษา
2HRZE/ 4HR,First-line drugs (FLD)
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
COPD หมายถึงรวม 2 โรค
โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง Chronic bronchitis ไอเรื้อรัง มีเสมหะปีละ อย่างน้อย 3 เดือน ติดต่อกันอย่างน้อย 2 ปี
โรคถุงลมโป่งพอง EMPHYSEMA ถุงลมถูกทำลาย ทำให้แลกเปลี่ยนแก๊สได้ไม่ดี
ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยด้านผู้ป่วย
พันธุกรรม,ความผิดปกติในการเติบโต และพัฒนาการของปอด,อายุ,เพศหญิง
ด้านสิ่งแวดล้อม
ควันบุหรี่ สูบเองหรือควันบุหรี่ที่ได้จากผู้อื่น,มลภาวะภายในอาคาร/นอกอาคาร/ที่สาธารณะ
อาการทางคลินิก
เหนื่อย 3-4เดือนต่อมา เหนื่อยมากขึ้นเรื่อยๆ
ไอเรื้อรังมีเสมหะ โดยเฉพาะช่วงเช้า หรือไม่มีก็ได้
บางรายไอเป็นเลือด
ตรวจร่างกาย
ใช้กล้ามเนื้อช่วยหายใจ เคาะปอดพบเสียงโปร่ง Prolong expiratory phase, Decrease breath sounds, Rhonchi หรอ wheezing
การวินิจฉัย
นึกถึงโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ในผู้ป่วยที่มีอายุ ตั้งแต่ 40 ปี ขึ้นไป
ยืนยันการวินิจฉัยด้วย spirometry
สาเหตุ
COPD, Bronchial asthma, Central bronchial carcinoma, Endobronchial tuberculosis, Bronchiectasi, Left heart failure, Interstitial lung disease, Cystic fibrosis Postnasal drip, Gastroesophageal reflux disease, Drug allergy
การวินิจฉัยแยกโรค
CHF
หายใจเหนื่อย หายใจเสียงหวีด
orthopnea, edema, paroxysmal nocturnal dyspnea
มีอาการบวม
Bronchiectasis
ให้สงสัยในกรณีที่มีเสมหะปริมาณมาก หรือ มีอาการกำเริบบ่อยครั้ง
เคยมีประวัติเป็นวัณโรค
Asthma
หายใจเสียงหวีด หอบเหนื่อย แน่นหน้าอก ไอ อาการแย่ช่วงกลางคืน เนื่องจากอากาศเย็นทำให้หลอดลมตีบ
ไม่มีอาการบวม
การรักษา
การรักษาด้วยยา
Ventolin, Buventol, Bonair, Buto-asma, Berodual, Spiriva handhaler
ไม่ใช้ยา
สอนเทคนิคการใช้ยำพ่นสูดที่ถูกวิธี ให้มาพบแพทย์ถ้ามีอาการ เช่น เหนื่อย ไอมีเสมหะมากขึ้น เสมหะเปลี่ยนสี ต้องใช้ยาเพิ่ม เลิกสูบบุหรี่ ออกกำลังกาย สอนการหายใจแบบ purse lip
Asthma
หลอดลมอักเสบ มีการอุดกั้นของหลอดลม ส่งผลให้หอบเป็นช่วงๆ
อาการ
ไอ หายใจเสียงหวีด หายใจไม่อิ่ม แน่นหน้าอก ขึ้นอยู่กับสิ่งกระตุ้น ระยะเวลา ความรุนแรง
ยืนยันการวินิจฉัยด้วย spirometry
กลไกการเกิด
Inflammation>Hyperreactivity>Brochospasm
ยาที่ใช้เมื่อมีอาการหอบ
เด็ก
Salbutamol nebulizer solution (Ventolin) (5mg/ml)
0.03 mg/kg/dose
ผู้ใหญ่
Ventolin (5mg/ml)ผสมกับ NSS เป็น 1 : 3
การดูแลแบบไม่พึ่งยา
หยุด/เลิกบุหรี่ แนะนำฝึกการหายใจ รับวัคซีนป้องกัน(Flu, COVID, IPD)
โรคที่พบร่วมกับโรคหืด
Chronic rhinitis / Chronic sinusitis,GERD
, Obesity,OSA, Depression and anxiety disorders
ยา
กลุ่มยาควบคุมโรคหืด (Controller medications)
กลุ่มยาบรรเทาอาการ(Reliever medications)
RESPIRATORY OBSTRUCTION
ทางผ่านของลมหายใจที่จะลงไปสู่ปอด ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่งเกิดการอุดตัน
อาการหลักๆคือเกิดขึ้นทันทีทันใด หายใจลำบาก dyspnea ไอเสียงก้อง
อาการ
ไอสำลัก (choking, gagging) ขณะกินข้าว
อาจมีไอเป็นเลือด หรือ มาด้วยภาวะปอดอักเสบ
เสียงแหบ (hoarseness)
ถ้าเป็นมากจะไม่มีเสียงพูด
เสียงแหบ (hoarseness)
ตัวเขียว (cyanosis)
supraclavicular, intercostal หรือ subcostal retraction
ตัวเขียว (cyanosis)
ภาวะ hypoxia จะทำให้มึนศีรษะ กระวนกระวาย สับสน หากขากออกซิเจนนาน>เฉื่อยชา หมดสติ
ร่างกายสั่งให้หัวใจทำงานมากขึ้น ช่วงแรกสามารถปรับตัวได้ หัวใจบีบตัวเร็วขึ้น เลือดออกจากหัวใจมากขึ้น ไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย หัวใจล้า
สาเหตุ
เด็กแรกเกิด
เกิดจากความพิการแต่กำเนิด
เด็กเล็ก/เด็กโต
การอักเสบ การบาดเจ็บหรือสิ่งแปลกปลอม
ผู้ใหญ่
การอักเสบ จากอุบัติเหตุ การใส่ Tube เนื้องอก
การวินิจฉัยและการประเมิน
ซักประวัติ/ตรวจร่างกาย/ตรวจดูบริเวณกล่องเสียงและหลอดลม
การตรวจพิเศษ
CXR+/- flim neck
Arterial Blood Gas
Endoscope เพื่อให้ทราบตำแหน่ง
การรักษา
ดูว่าพยาธิสภาะอยู่ที่ตำแหน่งไหน
สังเกตดูว่ามีการบาดเจ็บหรือภาวะอื่นร่วมด้วยหรือไม่
เลือกวิธีแก้ไขโดยใช้วิธีที่ง่ายและมีการบาดเจ็บน้อยสุดก่อน
การช่วยเหลือในภาวะฉุกเฉิน
กรณีผู้ป่วยรู้สึกตัว
: ให้ไอเพื่อนำ FB ออกมาเอง
กรณีไม่รู้สึกตัว
: ให้รีบตามทีมช่วยเหลือ และ CPR ทันที และหากไม่พบสิ่งแปลกปลอม *ห้ามเอามือล้วง
Croup
ตรวจร่างกาย : ไอเสียงก้อง ร้องเสียงแหบ อาจมี biphasic stridor
การรักษา
Adrenaline Nebulization
บางรายอาจต้องให้ corticosteroid ร่วมด้วยเพื่อลดอาการบวม
PULMONARY EDEMA
ภาวะที่เกิดจากการมีของเหลวในถุงลมปอดมากผิดปกติ ส่งผลให้ผู้ป่วยหายใจ
ลำบากหรือหายใจไม่อิ่มเนื่องจากขาดออกซิเจน
สาเหตุ
ภาวะหัวใจล้มเหลว
หัวใจห้องล่างซ้ายไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปที่อวัยวะในร่างกายได้
เลือดท้นไปยังปอด
ปอดบวมน้ำ
ปอดบวมติดเชื้อ สัมผัสกับสารพิษหรือการใช้ยาบางชนิด
การวินิจฉัย
การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
การตรวจระดับออกซิเจนในเลือด
Echocardiogram หรือ ultrasound เอกซเรย์ปอด
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
เพื่อตรวจดูความผิดปกติของจังหวะการเต้นของหัวใจ หรือ
ตรวจหาสัญญาณของภาวะหัวใจขาดเลือด
การรักษา
กลุ่มยาลดแรงดัน เช่น nitroglycerin และ Furosemideลดภาวะน้ำเกิน
กลุ่มยาขยายหลอดเลือด และ ลดความดันในหัวใจห้องล่างซ้าย เช่น Nitropusside
Morphine เพื่อบรรเทาอาการหายใจไม่อิ่ม
ต้องติดตามBP เช็คการทำงานของไต
ACUTE URINARY RETENTION
ปวดปัสสาวะ ปัสสาวะไม่ออก ปัสสาวะคั่ง ปัสสาวะออกเป็นหยดๆ
รักษา
: foley catheter
สาเหตุ
Obstructive มีสิ่งมากั้น
BPH, cancer, stone, stricture, cystocele,blood clot, pelvic/retroperitoneal mass,fecal impaction
Infectious
cystitis, Herpes simplex, Herpes zoster, abscess, PID, prostatitis
Neurologic
MS, Parkinson’s disease,Brain ,Spinal cord,Neuropathy ,Medication
ซักประวัติ/ตรวจร่างกาย
อาการ obstructive symptoms
ปัสสาวะไม่พุ่ง ลำเล็ก นาน ไม่สุด ปัสสาวะเล็ด
อาการ irritative symptoms (UTI)
ปัสสาวะบ่อย กลั้นไม่อยู่ กลั้นได้ไม่นาน
ประวัติอดีต
เช่น BPH, prostate/bladder cancer, surgery,injury,
urethral catheter, infection, neurological disease
ประวัติยา
anticholinergic,NSAIDs, opioid
ผลแทรกซ้อน
ปวดท้อง มีการติดเชื้อ ทำให้เปิดนิ่วได้ ไตวายจากการมีน้ำเต็มกระเพาะปัสสาวะ เคยเป็นมะเร็งปากมดลูก
การวินิจฉัย
: US,UA,UC
การตรวจติดตาม
obs. urine output ถ้า <200ml/h. admit ให้ fluid replacement
ในรายที่ Cr rising ให้ admit
asymptomatic bacteriuria ไม่ต้องให ้ ATB
Gross hematuria ที่มี clot retention ให้ใส่ catheter ใช้ NSS irrigate จนใส admit obs.อาการ
การรักษา
ใส่สายสวนปัสสาวะ แล้วคาสายสวนไว้ก่อน
LOWER TRACT INFECTION
acute cystitis
ปัสสาวะบ่อย มีกลิ่นฉุน สีแดง แสบขัด รอไม่ได้ กดเหนือบริเวณหัวหน่าวแล้วเจ็บ
UPPER TRACT INFECTION
acute pyelonephritis
อาการเหมือนกับส่วนล่าง มีไข้สูงร่วม ไข้หนาวสั่นปวดและเคาะเจ็บที่ CVA
SHOCK
การไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายไม่เพียงพอ
การเฝ้าระวังติดตาม
Consciousness
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบหายใจ
Temp
Urine
LAB
การรักษา
Specific Treatment แก้ต้นตอ
Supportive Treatment ประคับประคองอาการ
การจำแนกภาวะช็อก
Hypovolemic Shock
volume ในระบบไหลเวียนโลหิตลดลง เกิดจาก
Acute hemorrhage
เช่น ตกเลือด
อาเจียน ท้องเสีย * อหิวา
Third space loss
Burn แผลไฟไหม้
Cardiogenic Shock
การบีบตัวสบฉีดเลือดของหัวใจเสีย เลือดคั่งตามหลอดเลือดดำ
อาการ
engorged neck vein, CVP สูง หัวใจอาจเต้นผิดจังหวะ ปาจฟังปอดได้ยินเสียงผิดปกติ
Septic Shock
เลือด/volume ออกนอกหลอดเลือดได้มากขึ้น
อาการ
ระยะแรก : ผิวหนังอุ่น conscious และ urine output ดี
ระยะหลังอาการจะเหมือนในช็อกอย่างอื่น
Neurogenic Shock
เสียสมดุลของระบบประสาทอัตโนมัติที่ควบคุมการหด/คลายตัวของหลอดเลือด
อาการ
เป็นลม มือเท้าอุ่น ผิวชมพู
ระบาย Content ดูแลเรื่องการหายใจและออกซิเจน
Anaphylactic Shock
การแพ้สารแปลกปลอมหรือยา
Endocrine Shock
ได้รับยา corticosteroid มานาน
แก้ไขโดยการให้ยา corticosteroid ในขนาดที่เหมาะสม
Acute glomerulonephritis
ส่วนใหญ่มีการติดเชื้อทางเดินหายใจ/ผิวหนังมาก่อน
สาเหตุ
ติดเชื้อ เช่น beta-hemolytic
streptococcus group A
อาการ
ไข้สูง ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
ร่วมกับอาการบวมทั่วตัว
ปัสสาวะเหมือนน้ำล้างเนื้อ
การแยกโรค
CHF
มีอาการเท้าบวม 2 ข้าง และหายใจหอบเหนื่อย นอนราบไม่ได้ *ไม่มีไข้
nephritic syndrome
มีอาการบวมทั้งตัว แต่ปัสสาวะออกมากและไม่มีไข้
ภาวะขาดสารอาหาร
บวมทั้งตัว โดยที่ถ่ายปัสสาวะเป็นปกติ
การดูแลตนเอง
ถ้าบวม/ปัสสาวะสีแดง ไปพบแพทย์ ในรายที่บวมหรือ ความดันเลือดสูง ควรงดเค็ม
การรักษา
มีประวัติการติดเชื้อในคอหรือผิวหนัง>ATB
-ให้ยาขับปัสสาวะ ลดบวม
ให้ยาลดความดัน ถ้าพบว่ามีความดันเลือดสูง
ชัก>ยากันชัก
dialysis ในรายที่มีภาวะไตวายรุนแรง
ภาวะแทรกซ้อน
อาการทางสมอง>ชัก ไม่ค่อยรู้สึกตัว
หายใจหอบเหนื่อย
ไตวายเรื้อรัง
การป้องกัน
รักษาโรคติดเชื้อในคอหรือผิวหนัง ด้วยยาปฏิชีวนะให้ครบตามกำหนด
การรักษา :
สารน้ำทดแทน
เสียเลือด> 20% ของ blood volume ควรให้เลือด
ผ่าตัดห้ามเลือด ทำแผลburn รักษาท้องเสีย
ดูแล Ventilation and oxygenation/ET tube & Ventilator
รักษาภาวะกรดด่าง
ให้ยา Vasopressor เช่น Dopamine,Norepinephrine
การรักษา : รักษาเฉพาะ
ให้ antiarrhythmic drug ในรายหัวใจเต้นผิดจังหวะ
น้ำมาก ให้ diuretic
ผ่าตัดแก้ไข cardiac tamponade
รักษาตามอาการ
ดูแลการหายใจ การทำงานของหัวใจ
การรักษาเฉพาะ
ระบายหนอง ให้ ATB
รักษาประคับประคอง
ให้ IV ออกซิเจน
: :
นางสาวกัญญาภัค สินสืบผล เลขที่ 2 รหัสนักศึกษา 62126301004