Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคนิค / ทักษะการให้การปรึกษา / กระบวนการให้การปรึกษา, นางสาววริศรา…
เทคนิค / ทักษะการให้การปรึกษา /
กระบวนการให้การปรึกษา
เทคนิค/ทักษะการให้การปรึกษา
ทักษะการฟัง
ลักษณะการฟังที่ดี
การฟังอย่างตั้งใจ
LADDER
LOOK ประสานสายตาฟังอย่างตั้งใจ
ASK ถามในประเด็นที่สงสัย
DON'T INTERUPT ไม่แทรกหรือขัดจังหวะ
DON'T CHANGE THE SUBJECT ไม่เปลี่ยนเรื่อง
EMOTION ใส่ใจการแสดงออกทางอารมณ์
RESPONSE ตอบสนองด้วยสีหน้า ท่าทาง
ฟังอย่างใส่ใจ
ติดตามเรื่องราว
มีการแสดงออกที่สอดคล้องกับเรื่องราวที่ฟัง
ตั้งใจฟัง
มีการแสดงออกตอบรับ
มีสมาธิ
สิ่งที่ต้องสนใจ
แววตา
สีหน้า
น้ำเสียง
ท่าทาง
คำพูด
สิ่งที่ต้องได้
เนื้อหาสาระ
อารมณ์
ความรู้สึก
ทักษะการสังเกตุ
วัตถุประสงค์
เพื่อรับรู้ เข้าใจ เกิดความกระจ่างในปัญหา
ผลที่ได้
เป็นการแสดงออกถึงความเข้าใจ Cl ได้พูดต่อในประเด็นที่สำคัญ
แนวทางการใช้
สังเกตุตั้งแต่ กริยา ท่าทาง การแสดงออกทางอารมณ์ การเน้นระดับเสียง อารมณ์ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดความสอดคล้อง หรือขัดแย้ง
ทักษะการเงียบ
เงียบด้านบวก
Co
สำรวจความคิด ความรู้สึก ใช้เวลาในการคิดเรื่องที่จะพูด
ให้เวลากับผู้รับคำปรึกษา ให้พักฟื้นจากความเหน็ดเหนื่อย
Cl
กำลังคิดว่าจะพูดเรื่องอะไร
รอคอยให้ผู้รับการปรึกษาพูดอะไรบางอย่าง
ใช้เวลาคิดและทำความเข้าใจถึงสิ่งผู้ให้การปรึกษาได้พูด
ออกมา
เงียบด้านลบ
Co
เป็นสิ่งที่ไม่เอื้ออำนวยต่อกระบวนการการให้การปรึกษา
Cl
ไม่สบายใจ อึดอัด ไม่อยากพูดเรื่องของตนเอง ไม่พอใจ ต่อต้าน
วัตถุประสงค์
กระตุ้นให้ผู้รับการปรึกษาได้พูดถึงความคิด อารมณ์ ความรู้สึก
เน้นความสนใจ ให้เกียรติผู้รับการปรึกษา
มีเวลาเพื่อคิด รวบรวมรายละเอียดประเด็นปัญหาต่างๆ
ให้โอกาสและให้กำลังใจผู้รับการปรึกษา
ผลที่ได้
เป็นการแสดงถึงความสนใจที่มีต่อผู้รับบริการปรึกษา
เป็นการเน้นความ เน้นสนใจ ให้เกียรติผู้รับการปรึกษา
การเงียบจะมีประโยชน์ ถ้ามีจุดมุ่งหมาย
เป็นการให้โอกาสและให้กำลังใจผู้รับการปรึกษา
ทักษะการถาม
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ Cl บอกถึงความคิด ความรู้สึก และเรื่องราวต่างๆ
เพื่อให้ Co ได้ค้นหาข้อมูล และเข้าใจถึงเรื่องราว
คำถามปลายปิด
แนวทางการใช้คำถามปิด
เมื่อต้องการคำตอบเฉพาะ
เพื่อตรวจสอบความเข้าใจให้ตรงกัน
เมื่อต้องการให้เกิดการตัดสินใจ
ข้อจำกัด
ไม่ควรใช้มากจนเกิดไป
ไม่ควรใช้ปลายปิดที่เป็นลักษณะ"คำถามนำ"
มีการกำหนอทิศทางของคำตอบชัดเจน หรือมีคำตอบเพียงแค่ "ใช่" "ไม่ใช่"
คำถามปลายเปิด
แนวทางในการใช้คำถามปลายเปิด
เพื่อติดตามเรื่องในเชิงลำดับเหตุการณ์และ
ปฏิสัมพันธ์
กระตุ้นให้ผู้รับการปรึกษามีส่วนร่วมในการสนทนา
และสำรวจตนเอง
เพื่อหาข้อมูลในระดับลึก ต้องการข้อมูลเพิ่มขึ้น ชัดเจนขึ้น
ไม่มีการกำหนดขอบเขตของคำตอบ สามารถตอบได้อย่างอิสระ "อะไร" "อย่างไร" "เพราะอะไร"
ผลที่เกิดจากการใช้ทักษะการถาม
Cl บอกถึงความคิด ความรู้สึก และเรื่องราวต่างๆ ที่ต้องการปรึกษา
ช่วยให้ผู้ให้การปรึกษาเข้าใจถึงผู้รับการปรึกษาเข้าใจถึงผู้รับการ
ปรึกษามากยิ่งขึ้น และนำประกอบในการวางแผนแก้ไขปัญหาร่วมกัน
ทักษะการทวนความ
พูดในสิ่งที่ผู้รับการปรึกษาได้บอกเล่า หรือพูดไปแล้วอีกครั้งหนึ่ง โดยไม่เปลี่ยนแปลงภาษา ความรู้สึก และไม่เพิ่มเติมความคิดเห็น
แนวทางปฏิบัติ
ทวนซ้ำทุกประการ
ทวนซ้ำแบบสรุป เอาเฉพาะประเด็นสำคัญ
ลักษณะ
ทวนซ้ำทุกคำที่ผู้รับการปรึกษาพูด
ทวนซ้ำแบบเปลี่ยนสรรพนาม
ทวนซ้ำเฉพาะส่วน
ทวนซ้ำแบบสรุปประเด็นสำคัญ
ทักษะการทวนซ้ำ
ผลที่ได้
ตรวจสอบความเข้าใจที่ถูกต้อง
ทำให้ผู้รับการปรึกษาชัดเจนในสิ่งที่พูดมากขึ้น
เป็นการช่วยให้ผู้รับการปรึกษาไม่เล่าซ้ำในสิ่งที่พูดมาแล้ว
จูงใจให้ผู้รับการปรึกษาพูดต่อ
ข้อควรระวัง
การทวนซ้ำบ่อยเกินไป จะทำให้ผู้รับการปรึกษาอึดอัด
ทักษะการสรุปความ
วัตถุประสงค์
เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ
เพื่อกระตุ้นให้ผู้รับการปรึกษาได้พิจารณาประเด็นสำคัญ
เพื่อรวบรวมความคิด อารมณ์ ความรู้สึก
เพื่อนำไปสู่การเปิดเผยในแต่ละประเด็น
เพื่อเตรียมผู้รับการปรึกษาให้พร้อมในการให้การปรึกษาในคราว
ต่อไป
Co
แสดงถึงความสนใจต่อผู้รับการปรึกษา
ตรวจสอบความเข้าใจในเนื้อหา
ทำให้เรื่องราวกระจ่างชัดเจน
Cl
มั่นใจว่าผู้ให้การปรึกษาติดตามและเข้าใจเรื่องราว
สำรวจความคิด อารมณ์ ความรู้สึกของตนเอง
เกิดความกระจ่างในปัญหา และกระตุ้นให้ตระหนักในปัญหาและแนวทางแก้ไข
ประโยชน์
ช่วยให้การปรึกษาดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพ
เชื่อมโยงจุดสำคัญต่างๆ สรุปความก้าวหน้าหรือวางแผน
ในการให้การช่วยเหลือต่อไป
สรุปความตอนไหน
กระทำได้ทุกระยะของการให้การปรึกษา หลังจากที่ได้ข้อมูลจำนวนมากพอ
ผู้ให้การปรึกษาอาจเป็นผู้สรุปเอง หรือขอให้ผู้รับการปรึกษาเป็นผู้สรุปให้
ไม่เพิ่มเติมความคิดอื่นๆ หรือประเด็นอื่นที่ได้สนทนา
ทักษะการสะท้อนความรู้สึก
เป็นการให้ข้อมูลย้อนกลับ ด้วยภาษาที่เหมาะสม เพื่อให้ผู้รับบริการเกิดความชัดเจนในด้านความรู้สึก
วัตถุประสงค์
ผู้รับการปรึกษาเข้าใจถึงอารมณ์ ความรู้สึกที่เป็นปัญหา จะทำให้เกิดการยอมรับและหาแนวทางแก้ไขต่อไป
แนวทางในการใช้ทักษะจับและสะท้อนความรู้สึก
ประเด็นสำคัญ
การจับความรู้สึก
สังเกตุ ใส่ใจ อารมณ์ คำพูด
กำหนดความรู้สึก
การสะท้อนความรู้สึก
ใช้ประโยคที่เหมาะสม
สะท้อนอารมณ์ โดยใช้ประโยคนั้น
การสะท้อนความรู้สึก ไม่ใช่การทวนความ
สะท้อนทันทีที่จับความรู้สึกได้
แนวทางในการใช้ทักษะจับและสะท้อนความรู้สึก
ใช้ทักษะการฟังอย่างตั้งใจ และสังเกตพฤติกรรม
เลือกใช้คำที่ตรงกับความรู้สึกของผู้รับการปรึกษามากที่สุด
ใช้นำเสียงและท่าทางที่ทำให้ผู้รับการปรึกษารู้สึกอบอุ่นใจ
ควรทำทันทีที่มีโอกาส
สื่อให้ผู้รับการปรึกษารับรู้ว่า เราเข้าใจว่าเขารู้สึกอย่างไร
ไม่ควรใช้คำว่า "รู้สึก" ให้บ่อยครั้ง ควรหาวิธีเปลี่ยนคำพูดหลายๆ แบบ และเลี่ยงการลงท้ายประโยค "ใช่ไหมคะ" (ครับ)
หากสะท้อนไม่ตรงสามารถถามได้ว่า จริงๆ แล้วเค้ารู้สึกอย่างไร
กระบวนการให้การปรึกษารายบุคคล
ขั้นตอนที่ 1
การสร้างสัมพันธภาพและตกลงบริการ
สร้างสัมพันธภาพ
เพื่อสร้างความไว้วางใจ คุ้นเคย อบอุ่นใจ ความรู้สึกที่ดีต่อผู้ผู้ให้คำปรึกษา เชื่อมั่นในผู้รับการปรึกษา นำไปสู่การเปิดเผยปัญหาและความรู้สึกที่แท้จริง
ทักทาย พูดคุยเรื่องทั่วไป แสดงความใส่ใจ "SOLER"
L-โน้มตัวไปข้างหน้าเล็กน้อย
E-สบสายตาแสดงความสนใจ
R-มีท่าทีที่สบายๆ ไม่เคร่งเครียด ผ่อนคลาย
s-การนั่งแบบมุมฉาก ไม่ประจันหน้า
O-การเปิดใจรับและให้ความสนใจต่อผู้รับการปรึกษา
ตกลงบริการ
เพื่อสร้างความเข้าใจที่ตรงกันในองค์ประกอบต่างๆ ของการให้การปรึกษา (ระยะเวลา / ประเด็น / บทบาท / ความลับ) ทำให้การปรึกษามีทิศทาง
ขั้นตอนที่ 2
เป็นขั้นตอนที่ผู้ให้การปรึกษาจัดเรียง เชื่อมโยงข้อมูลที่ได้จากการสำรวจปัญหาร่วมกับผู้รับบริการ เพื่อประกอบการวางแผนแก้ไขปัยหา
การสำวจและทำความเข้าใจปัญหา สาเหตุ และความต้องการ
การสำรวจปัญหา
องค์ประกอบของปัญหา
เนื้อหาของปัญหา เช่น รูปแบบของการเกิดปัญหา, ความรุนแรง, ความรู้สึก, ความคิด
ผู้กระทบต่อผู้รับการปรึกษา
พฤติกรรมของผู้รับบริการ
สัมพันธภาพของผู้รับบริการต่อผู้อื่น
ศักยภาพของผู้รับบริการ เช่น วิธีแก้ปัญหาปัจจุบัน, วิธีแก้ปัญหาในอดีต, ผู้ให้การช่วยเหลือ
ภูมิหลังความเป็นมา (เท่าที่จำเป็น)
การทำความเข้าใจปัญหา สาเหตุ ความต้องการ
ทบทวนและสรุปข้อมูล
จัดเรียงลำดับและเชื่อมโยงข้อมูล
ผู้ได้รับผลกระทบ
ความรุนแรง
การพิจารณาและเลือกปัญหา
ความรุนแรงของปัญหา
ความเร่งด่วนของปัญหา
ประโยชน์
ความเป็นไปได้
ความต้องการในการแก้ไข
ขั้นตอนที่ 3
การวางแผนแก้ไขปัญหา
เพื่อจัดลำดับความสำคัญของปัญหา ทำให้ทราบว่าปัญหาไหนเป็นปัญหาที่ต้องการแก้ไขเร่งด่วน และวางแผนแก้ไขตามลักษณะของปัญหา
ประเภทของปัญหาและแนวทางในการแก้ไข
ทักษะการให้ข้อมูล
ใช้คำถามปลายเปิด เพื่อข้อมูล ความรู้เดิม
ให้ข้อมูล โดยการบอกความรู้ที่ผู้รับการปรึกษาต้องการและจำเป็น
ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลที่ผู้รับการปรึกษาได้รับ
ปัญหา
ปัญหาเกี่ยวกับการขาดความรู้ ขาดข้อมูล
ทักษะการเสนอแนะ
สำรวจว่าผู้รับการปรึกษาไม่สามารถคิดหาแนวทางปฏิบัติ และเคยมีประสบการณ์ในการแก้ไขปัญหานั้นหรือไม่
ให้การเสนอแนะ
ตรวจสอบปฏิกิริยาโต้ตอบ
การซ้อมปฏิบัติในสถาณการณ์สมมติ
ปัญหา
ขาดแนวทางในการปฏิบัติ
ทักษะการให้กำลังใจ
การสำรวจอารมณ์ ความคิด ความรู้สึก
การจับและสะท้อนความรู้สึก
ค้นหาศักยภาพของผู้รับการปรึกษา
สนับสนุนศักยภาพหรือการให้กำลัง
ปัญหา
ปัญหาด้านจิตใจ ความรู้สึก ขาดความมั่นใจ
ทักษะการพิจารณาทางเลือก
พิจารณาด้านที่หนึ่ง ทบทวนถึงผลดีของทางเลือกที่หนึ่ง แล้วจึงถามผลเสียของทางเลือกทีหลัง
พิจารณาอีกทางหนึ่ง
แก้ปัญหาที่ตามมาจากการตัดสินใจเลือกทางเลือกนั้น
ปัญหา
เกิดความลังเล ไม่มั่นใจในการตัดสินใจ
วิธีการวางแผนแก้ไขปัญหา
สร้างแรงจูงใจในการแก้ไขปัญหา
กำหนดเป้าหมาย
สำรวจทางเลือกต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหา
พิจารณาทางเลือกที่พึงประสงค์
ขั้นตอนที่ 4
การยุติบริการ
เป็นการยุติให้การปรึกษาในแต่ละครั้งและการยุติการ ให้คำปรึกษาในแต่ละราย
วัตถุประสงค์
1.เพื่อตรวจสอบความเข้าใจร่วมกันในสิ่งที่ได้ได้พูดคุยในแต่ละครั้ง
2.เพื่อกำหนดแนวทางปฏิบัติ เช่น การนัดหมายครั้งต่อไป การนำไปปฏิบัติจริง การส่งต่อ
เงื่อนไขการยุติบริการ
หมดเวลา
ผู้รับบริการผ่อนคลาย พบแนวทางปฏิบัติ
สถานการณ์เกินขอบข่ายความช่วยเหลือด้านจิตใจ / เสี่ยงต่ออันตรายต่อผู้รับบริการ
ผู้รับบริการเกิดภาวะ พึ่งพิงผู้ให้บริการ
ผู้รับบริการไม่ให้ความร่วมมือ
ประเด็นปัญหาเกินขีดความสามารถของผู้ให้บริการ
นางสาววริศรา ใจเป็ง
รหัสนักศึกษา 64113301104