Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาออกฤทธิ์ระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
ยาออกฤทธิ์ระบบทางเดินหายใจ
ยาขยายหลอดลม
Aminophylline
ข้อควรระวัง
เด็กและผู้ที่อายุ 60 ปีขึ้นไปควรปรึกษาแพทย์ เพราะเสี่ยงเกิดผลข้างเคียงมากกว่าคนทั่วไป
การใช้ยา และอาการข้างเคียง
-ผู้ใหญ่ 225-450 มก. วันละ 2 ครั้ง
-เด็กที่น้ำหนักตัวมากกว่า 40 ก. 225 มก. วันละ 2 ครั้ง
-ผู้สูงอายุ อาจต้องลดปริมาณยา
ประเภทยา
-ยาฉีด ยารับประทาน
-ยารักษาโรคหืด โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และภาวะหลอดลมหดเก็รงยาทีโอฟิลลีน
-ยาตามแพทย์สั่ง
Formoterol
ประเภทยา
-รักษาโรคภาวะหลอดลมหดเกร็งตัว
-ป้องกันการอุดตันของระบบทางเดินหายใจ
-ยาแคปซูล ยาพ่นชนิดสารละลาย ยาเม็ด
-ยาตามใบแพทย์สั่ง
การใช้ยา และอาการข้างเคียง
-ผู้ใหญ่รับประทานครั้งละ 80 ไมโครกรัม วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น
-เด็กรับประทาน 4 ไมโครกรัม/น้ำหนักตัว 1 ก./วัน
-มีอาการตัวสั่น ปวดหัว ชีพจรเต้มผิดปกติ กล้ามเนื้อเป็นตะคริว
ข้อควรระวัง
ระวังการใช้ยานี้กับผู้ป่วยเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ เช่น ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
Salbutamol
การใช้ยา และอาการข้างเคียง
-ผู้ใหญ่และเด็กอายุตั้งแต่ 4 ปีขึ้นไป ใช้เครื่องสูดพ่นยาครั้งละ 2.5-5 มก. ไม่เกิน 4 ครั้ง/วัน
-ไซนัสอักเสบ กระวนกระวาย เจ็บคอคอเเห้ง
ข้อควรระวัง
-ห้ามใช้ยานี้หากแพ้ส่วนประกอบใดๆในยา
-หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะตกเลือดห้ามใช้
ประเภทยา
-รักษาโรคหืด โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และภาวะหลอดลมหดตัว
-ยาสูดพ่น ยาเม็ด ยาน้ำเชื่อม ยาเเคปซูล
-ยาตามใบแพทย์สั่ง
Salmeterlo
การใช้ยา
-ผู้ใหญ่และเด็กอายุ 4 ปีขึ้นไป ให้สูดพ่นยาปริมาณ 50 ไมโครกรัมด้วยเครื่องพ่นยาแบบ MDI หรือ DPI
ข้อควรระวัง
-ห้ามใช้ยานี้ในเด็กอายุต้ำกว่า 4 ปี
-ห้ามใช้ยานี้เพื่อนักษาโรคหืดที่เกิดขึ้รอย่างฉับพลัน
ประเภทยา
-รักษาโรคหืดเรื้อรังและปอดอุดกั้นเรื้อรัง
-ป้องกันโรคหืดจากการออกกำลังกาย
-ยาสูดพ่น
-ยาตามใบสั่งแพทย์
Terbutaline
การใช้ยา และ ผลข้างเคียง
-เด็ก อายุ 2-15 ปี ฉีดยาเข้าสู้ร่างกายปริมาณ 0.01 มก.
-ผู้ใหญ่ ฉีดเข้าทางกล้ามเนื้อหลอดเลือดดำ หรือใต้ผิวหนัง ครั้งละ 250-500 ไมโครกรัม
-สั่น เซื่องซึม ปากแห้ง เหงื่อออก
ข้อควรระวัง
-หญิงตั้งครรภ์และให้นมบุตร จะต้องเป็นไปตามแพทย์สั่งเท่านั้น
สรรพคุณ และ ประเภทของยา
-ป้องกันและรักษาการหดตัวของหลอดลม
-ยารับประทาน ยาฉีด ยาพ่น
-ยาตามใบสั่งแพทย์
Ventolin Nebules
สรรพคุณ และ ประเภทของยา
-ป้องกันหรือรักษาอาการหอบหืดที่เป็นไม่มาก โรคในถุงลมโป่งพอง
-ยาพ่นชนิดละอองฝอง
-ยาตามใบแพทย์สั่ง
การใช้ยา และผลข้างเคียง
-ผู้ใหญ่และเด็กอายุ 18 เดือนขึ้นไป ให้ใช้ในขนาด 2.5-5 มก.
เด็กอายุต่ำกว่า 18 เดือน จะขึ้นอยู่กับดุลพินิจทางการแพทย์
ข้อควรระวัง
-ระวังการใช้ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง หรือภาวะหัวใจล้มเหลว
Vilanterol
การใช้ยา และผลข้างเคียง
-สูดพ่นยา Fluticasone furoate 100 ไมโครกรัม +Vilanterol 25 ไมโครกรัม วันละ 1 ครั้ง
-ปวดศีรษะ หัวใจเต้นเร็ว เกิดผื่นคัน
ข้อควรระวัง
-ห้ามใช้ยานี้ขณะที่ผู้ป่วยมีอาการหอบหืด หรือขณะแน่นหน้าอก/หายใจลำบาก
สรรพคุณ และ ประเภทของยา
-บำบัดป้องกันอาการโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD)
-ยาผงสำหรับสูดพ่น
-ตามร้านขายยาและตามใบสั่งแพทย์
ยารักษาโรคปอด
Guaifenesin (Glyceryl guaiacolate)
ข้อบ่งใช้
บรรเทาอาการไอชั่วคราวที่เกิดจากการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ เช่น ไซนัสอักเสบ หลอดลมอักเสบ
วิธีการใช้ยา
ยานี้มีขายในรูปยาน้ำเชื่อมความแรง 100มก./5 มล. ขนาดยาที่ใช้รักษารับประทานวันละ 4-6 วัน
ผลข้างเคียง
ยาชนิดนี้มีผลข้างเคียงน้อย อาจคลื่นไส้อาเจียนเล็กน้อย ก่อนใช้ยาควรแจ้งให้แพทย์ทราบว่าแพ้ยาอะไรหรือไม่
Bromhexine
ข้อบ่งใช้
เป็นยาละลายเสมหะ บรรเทาอาการไอจากโรคหวัด ยานี้ช่วยละลายสารคัดหลั่งในที่เกิดจากโรคปอดอักเสบทั้งชนิดเฉียบพลันและชนิดเรื้อรัง
วิธีการใช้
ยานี้มีขายในรูปยาเม็ดขนาด 8 มก. ยาน้ำอิลิกเซอร์ (Elixir) ความเข้มข้นของยา 4 มก./5 มล.(1 ช้อนชา)และยาฉีดมีความเข้นั้นของยา 4 มก. /2 มล. รับประทานวันละไม่เกิน 3 ครั้ง
ผลข้างเคียง
อาจเกิดการรู้สึกไม่สบายท้อง แน่นท้อง ท้องเสีย
terbutaline
ข้อบ่งใช้
อยู่ในกลุ่มยาเบต้า agonists จะใช้ในการป้องกันและรักษาภาวะหลอดลมหดตัว โรคหอบหืด โรคหลอดลม
วิธีการใช้ยา
ยาเม็ดรับประทาน โดยทั่วไปรับประทานวันละ 3-4 ครั้ง หรือในยาสูดพ่นทุก 4-6 ชั่วโมง และยาสูดพ่นเข้าปาก ขนาดยาตามแพทย์สั่ง
ผลข้างเคียง
หายใจลำบาก หัวใจเต้นผิดปกติ
Acetylcysteine
วิธีการใช้ยา
มีขายในรูปยาเม็ดขนาด 30 มก. ยาแคปซูลออกฤทธิ์นานขนาด 75 มก. ยาน้ำความแรง 30 มก./5 มก. และยาฉีดความแรง 15 มก. และยาฉีดความแรง 15 มก./2 มก.
ผลข้างเคียง
เป็นหวัด น้ำมูกไหล ผิวหนังเนื้อตัวเย็นซืด ง่วงนอน มีไข้
ข้อบ่งใช้
ใช้ละลายเสมหะซึ่งเหนี่ยวในผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งพอง โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง หรือผู้ป่วยที่เจาะคอ หากมีเสมหะเหนี่ยวก็ใช้ยานี้ละลายเสมหะใช้รักษาที่ตับใช้ยามากเกินไป paracetamol ภาวะปอดแฟบเนื่องจากเสมหะเหนียวอุดหลอดลม
Ambroxol
ข้อบ่งใช้
ยานี้ช่วยขับและละลายเสมหะในโรคของทางเดินหายใจทั้งชนิดเฉียบพลัน และเรื้อรังใช้ละลายเสมหะของผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งพอง
วิธีการใช้ยา
ยานี้มีขายในรูปยาเม็ดขนาด 30 มก. ยาแคปซูลออกฤทธิ์นานขนาด 75 มก. ยาน้ำความแรง 30 มก./5 มก. และยาฉีดความแรง 15 มก./2 มก.
ผลข้างเคียง
เกิดการระคายเคืองภายในระบบทางเดินอาหาร และเกิดอาการแพ้
Salbutamol
ข้อบ่งใช้
บรรเทาอาการหดเกร็งของหลอดลมอักเสบชนิดเรื้อรังถุงลมโป่งพอง
วิธีการใช้ยา
สามารถใช้ได้เป็นเเท็บเล็ต,น้ำเชื่อม,ยาพ่น nebulizer และรูปแบบฉีดเข้ากล้ามเนื้อหรือทางหลอดเลือดดำ
ผลข้างเคียง
มีน้อยโดยเฉพาะยาที่ใช้โดยการพ่นหรือสูดดม หากใช้รับประทานอาจพบอาการมือสั่น ปวดศีรษะ
Theophylline
ข้อบ่งใช้
บรรเทาอาการหอบหืด
วิธีการใช้ยา
ยานี้มีขายในรูปแบบยาเม็ดและแคปซูลธรรมดา ชนิดออกฤทธิ์นาน ขนาด 100,200,300 และ 400 มก. ยานี้มีทั้งชนิดออกฤทธิ์สั้นคือ 6-12 ชั่วโมง ซึ่งต้องรับประทานยาวันละ 2-4 ครั้ง
ผลข้างเคียง
หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ กระสับกระส่าย หงุดหงิด คลื่นไส้ อาเจียน
ยาขับเสมหะและยาระงับการไอ
Acetylcysteine
ข้อบ่งใช้
รักษา
Chronicemphysema,Chronic asthmatic bronchitis,Bronchitis,Pneumonia,Tracheobronchitis
ผลข้างเคียง
ซึม ง่วงนอน เยื่อบุตาอักเสบ น้ำมูกใสๆไหล ผื่นลมพิษ
Ambroxol
ข้อบ่งใช้
รักษาโรคทางเดินหายใจที่มีเสมหะผิดปกติ
ผลข้างเคียง
หากให้ขนาดสูงๆ อาจพบอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะขนาดปกติ พบอาการน้อยมากหมกใช้ติดต่อกันนานๆ
Ammonium Chloride
ข้อบ่งใช้
รักษาผู้ป่วยหลอดลมอักเสบและผู้ป่วยหลอดลมโป่งพอง
ผลข้างเคียง
ปวดศีรษะ ซึมเศร้า ง่วงหลับ สั่น กระตุก
Bromhexine
ข้อบ่งใช้
รักษาผู้ป่วยหลอดลมอักเสบอย่างเฉียบพลันและเรื้อรัง
ผลข้างเคียง
ซึม ง่วงนอน เยื่อบุปากอักเสบ
Codeine
ข้อบ่งใช้
บรรเทาอาการเจ็บปวดปานกลาง แก้ไอ ใช้ร่วมกับ Aspirin หรือ Paracetamol เพื่อลดอาการปวด
ผลข้างเคียง
ท้องผูก มึนศีรษะ ใจสั่น ง่วงนอน หากได้ยายาเกินขนาดจะมีอาการชัก เป็นลม
Dextromethorphan
ข้อบ่งใช้
ระงับอาการไอเนื่องจากความเย็นหรือการสูดดมสิ่งที่ระคายเคือง
ผลข้างเคียง
หากให้ขนาดสูงๆ จะมีอาการซึม มึนงง ทำให้ง่วง คลื่นไส้ และมึนศีรษะ
Diphenhydramine
ข้อบ่งใช้
ระงับอาการไอที่เกิดขึ้นร่วมกับอาการคัดจมูกและจามซึ่งมีสาเหตุจากอาการหวัดและเเพ้อากาศ แก้สารพิษ แก้แพ้
ผลข้างเคียง
ทำให้ง่วงนอน ปวดศีรษะ
Glyceryl guaiacolate/Guaifenesine
ข้อบ่งใช้
บรรเทาอาการไอเนื่องจากหวัด หลอดลมอักเสบและการติดเชื้อที่ปอด
ผลข้างเคียง
พบน้อย คลื่นไส้ อาเจียน มึนงง ผื่นแพ้ ท้องเสีย
ยาบรรเทาอาการหวัด
1) หากขณะเป็นหวัดมีอาการไข้ร่วมด้วย ควรใช้ยาลดไข้
ยาพาราเซตามอล (Paracetamol)
ซาร่า (Sara)
ไทลินอล (Tylenol)
ทิฟฟี่ (Tiffy)
ดีคอลเจน (Decolgen)
ยาไอบูโพรเฟน(Ibuprofen)
ข้อควรระวังในการใช้ยา
•ผู้ป่วยโรคตับ หรือผู้ที่ดื่มเหล้าเป็นประจำไม่ควรใช้ยา เพราะยามีพิษต่อตับ
•ถ้าแพ้ยามีอาการบวมที่หน้าเปลือกตา ริมฝีปาก และมีผื่นแดง
•หลีกเลี่ยงกินร่วมกับยาอื่นที่มีพาราเซตามอลเป็นส่วนประกอบ
2) หากมีน้ำมูกร่วมด้วย ควรใช้ยาลดน้ำมูก (ยาแก้แพ้)
กลุ่มที่ 1 คือ ยากระตุ้นหดตัวของหลอดเลือด
(Pseudoephedrine)
(Phenyleprine)
(Nasotapp)
กลุ่มที่ 2 คือ ยาแก้แพ้ที่ออกฤทธิ์ลดน้ำมูกได้
(Chlorpheniramine)
(Cetirizine)
ข้อควรระวังในการใช้ยา
•แจ้งแพทย์ทราบก่อนใช้ยานี้
•หากมีประวัติแพ้ยาหรือส่วนประกอบของยาชนิดนี้รวมถึงการแพ้ยาชนิดอื่น
•ควรแจ้งให้แพทย์ทราบก่อนหากเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงเป็นต้น
3) หากมีอาการไอร่วมด้วยควรใช้ ยาแก้ไอ ซึ่งมี 3 กลุ่มด้วยกัน
กลุ่มที่ 1 คือ ยาละลายเสมหะ (Mucolytic - muco แปลว่า เมือก ส่วน Ilytic แปลว่าสลาย) บรอมเฮกซีน (Bromhexine) หรือชื่อการค้าคือ ไบโชลวอน (Bisolvon)อะเซทิลซิสเทอนี (Acetylcystein)
กลุ่มที่ 2 คือยาขับเสมหะ (Expectorant) ไกวเฟเนซิน (Guaifenesin)
กลุ่มที่ 3 คือ ยาลดอาการไอ (cough suppressant) เตกซ์โทรเมทอร์แฟน (Dextromethorphan) ยาแก้ไอน้ําดํา (Brown's Mixture)
ข้อควรระวังในการใช้ยา
•เด็กอายุต่ำกว่า 4 ปี ไม่ควรรับประทาน
•และในเด็กอายุ 4-6 ปี ควรติดตามอาการข้างเคียงอย่างใกล้ชิด
•ยานี้อาจทำให้เกิดอาการวิงเวียนศีรษะ ง่วงซึม
กลุ่มยาระงับอาการไอ หรือ ยากดอาการไอ
Butamirate citrate
การใช้ยา และผลข้างเคียง
-เด็ก 0.5-1 มก./น้ำหนักตัว 1ก./วัน
-ผู้ใหญ่ 20-25 มก. วันละ 3-4 ครั้ง
-คลื่นไส้ เวียนศีรษะ
ข้อควรระวัง
-โปรดรับคำปรึกษาจากแพทย์ประจำตัวของคุณหรือเภสัชกร
สรรพคุณ และประเภทยา
-ใช้รักษา,ควบคุม,ป้องกันและรักษาอาการและสภาพของโรคให้ดีขึ้น
-ยาเม็ด ยาน้ำเชื่อม
-ยาตามใบสั่งแพทย์
Codeine
การใช้ยา และผลข้างเคียง
-เด็กอายุ 2-5 ปี ปริมาณ 3 มก. 3-4 ครั้ง/วัน
-เด็กอายุ 6-12 ปี ปริมาณ 7.5-15 มก. 3-4 ครั้ง/วัน
-ผู้ใหญ่ ปริมาณ 15-30 มก. 3-4 ครั้ง/วัน
-มีผื่นขึ้นตามผิวหนังได้เล็กน้อย เหงื่อออกมาก
ข้อควรระวัง
-ไม่ควรใช้ยานี้ในเด็กที่พึ่ง
เข้ารับการผ่าตัดต่อมทอนซิลหรือต่อมอะดีนอยด์ และควรรีบต่อต่อแพทย์ทันที
สรรพคุณ และประเภทยา
-ระงับอาการไอ และบรรเทาอาการปวดตั้งแต่ระยะเริ่มต้น รุนแรงหรือเรื้อรัง
-ยารับประทาน และสารละลาย
-ยาตามใบแพทย์สั่ง
Dextromethorphan
การใช้ยา และผลข้างเคียง
-ยาอม ผู้ใหญ่และเด็กอายุ 12 ปีขึ้นไป 5-15 มก. รับประทานทุกๆ 2-4 ชั่วโมง
-ปวดท้อง หรือท้องผูกปวดหัว สับสน มึนงง หรือง่วงซึมเล็กน้อย
ข้อควรระวัง
-ยานี้อาจเป็นอันตรายต่อบุตรและอาจซึมผ่านน้ำนมได้จึงควรแจ้งให้แพทย์ทราบ
สรรพคุณ และประเภทยา
-บรรเทาอาการไอแบบไม่มีเสมหะ
-ยาอม ยาน้ำเชื่อม ยาน้ำแขวนตะกอน
-ยาทั่วไปตามร้านขายยา ยาตามใบสั่งแพทย์
Morphine
การใช้ยา และผลข้างเคียง
-แพทย์จะสั่งจ่ายมอร์ฟีนให้ผู้ป่วยแต่ละคนในปริมาณที่ต่างกัน โดยผู้ป่วยควรปฏิบัติตามคำแนะนำในการใช้ยาอย่างเคร่งครัด
-ผลข้างเคียงที่รุนแรง รู้สึกอึดอัดหรือเจ็บหน้าอก
-ผลข้างเคียงที่ไม่รุนแรง รู้สึกสงบและผ่อนคลาย
ข้อควรระวัง
-ควรปรึกษาแพทย์ทุกครั้งก่อนใช้ยา สมุนไพร หรืออาหารเสริมอื่นร่วมกับการใช้มอร์ฟีน
สรรพคุณ และประเภทยา
-ระงับอาการปวดระดับรุนแรง
-ยาเม็ด ยาแคปซูล ยาน้ำ และยาฉีด
-ยาตามใบสั่งแพทย์
Bromhexine
การใช้ยา และผลข้างเคียง
-ผู้ใหญ่ ยาเม็ด รับประทานยา 8-16 มก. วันละ 3 ครั้ง
-เด็กอายุ 2-5 ปี รับประทานยา 8 มก. รับประทานวันละ 2-3 ครั้ง/วัน
-คลื่นไส้ อาเจียน เวียนศีรษะ มีผื่น ลมพิษขึ้น อาการคันที่ผิวหนัง
ข้อควรระวัง
-ระวังการใช้ยาในผู้ที่มีประวัติเป็นโรคกระเพาะอาหารลำไส้ ด้วยยามีฤทธิ์ระคายเคือง
สรรพคุณ และประเภทยา
-ช่วยละลายเสมหะในระบบทางเดินหายใจ
-บรรเทาอาการไอจากโรคหวัด ไอมีเสมหะ
-ยารับประทาน
-ยาตามใบสั่งแพทย์ ยาหาซื้อได้เอง
Carbocysteine
การใช้ยา และผลข้างเคียง
-เด็กที่มีอายุ 2-5 ปี รับประทานยาในปริมาณ 250-500 มก. 3-4 ครั้ง/วัน
-เด็กที่มีอายุ 6-12 ปี รับประทานยาในปริมาณ 750 มก. 3 ครั้ง/วัน
-ผู้ใหญ่ รับประทานยาในปริมาณ 2.25 ก./วัน แบ่งรับประทาน 2-3 ครั้ง/วัน
-หน้ามืด เหงื่อตก อาเจียนเป็นเลือดหรือมีสีดำ หนาวสั่น
ข้อควรระวัง
หากเคยมีประวัติแพ้ยา ก่อนการใช้ยาทุกครั้งควรแจ้งแพทย์หรือเภสัชกรให้ทราบรวมทั้งโรคประจำตัว
สรรพคุณ และประเภทยา
-ละลายเสมหะ บรรเทาอาการไอมีเสมหะเรื้อรัง
-ยาน้ำเชื่อม ยาน้ำแขวนตะกอน ยาเม็ด ยาเม็ดชนิดเคี้ยว หรือแคปซูล
-ยาหาซื้อได้เอง ยาตามใบสั่งแพทย์
Guaifenesin
การใช้ยา และผลข้างเคียง
-เด็กรับประทานยาครั้งละ 50-100 มก. ทุก 4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ
-ผู้ใหญ่ รับประทานยาครั้งละ 200-400 มก. ทุก 4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ
-เวียนศีรษะ ผื่นขึ้น ท้องไส้ปั่นป่วน
ข้อควรระวัง
-แจ้งให้แพทย์ทราบก่อนใช้ยา หากมีอาการไอเรื้อรัง หรือไอต่อเนื่องเป็นเวลานาน
-มีความผิดปกติเกี่ยวกับตับและไต หรือโรคพอร์ฟิเรีย (Porphyria) ซึ่งเป็นโรคทางพันธุกรรมที่ก่อให้เกิดความผิดปกติเกี่ยวกับเลือด
สรรพคุณ และประเภทยา
-รักษาอาการไอ
-ยารับประทานชนิดเม็ด ยาน้ำ
-ยาตามใบสั่งแพทย์
กลุ่มยาขับเสมหะ หรือ ยาละลายเสมหะ
Acetylcysteine
การใช้ยา และผลข้างเคียง
-ครั้งละ1แคปซูล2-3ครั้ง/วัน
-เด็กมากกว่า6ปีรับประทานยาหลังมื้ออาหาร ครั้งละ1แคปซูล2ครั้ง/วัน
-เป็นหวัด น้ำมูกไหล ผิวหนังเนื้อตัวเย็นซีด ง่วงนอน มีไข้ คลื่นไส้ อาเจียน
ข้อควรระวัง
-ระวังการใช้ยานี้ในผู้ป่วยโรคหืด หรือมีประวัติภาวะหลอดลมเกร็งตัว และผู้ป่วยโรคแผลในกระเพาะอาหาร
สรรพคุณ และประเภทยา
-ละลายเสมหะ สลายมูกเหนียวข้นให้เบาบางลง
-ยาฉีดเข้าเส้นเลือด ยารับประทาน
-ยาแคปซูล ผู้ใหญ่และเด็กอายุมากกว่า14ปี
-ยาตามใบสั่งแพทย์
Ambroxol
การใช้ยา และผลข้างเคียง
-ผู้ใหญ่ รับประทาน ขนาด60-120มิลิกรัม โดยแบ่งรับประทานวันละ2-3ครั้ง
-เด็กอายุไม่เกิน2ปีรับประทานขนาด 7.5มิลิกรัมวันละ2ครั้ง
-เด็กอายุ2-5ปี รับประทาน ขนาด7.5มิลลิกรัม วันละ2ครั้ง
-ก่อให้เกิดผลข้างเคียงร้ายแรงแต่ในบางรายอาจทำให้เกิดการระคายเคืองภายในระบบทางเดินอาหารและเกิดอาการแพ้
ข้อควรระวัง
-หญิงตั้งครรภ์ ให้นมบุตร ควรแจ้งแพทย์ก่อนการใช้ยา
-หญิงตั้งครรภ์ในช่วง 3 เดือนแรกไม่ควรใช้ยา
สรรพคุณ และประเภทยา
-ช่วยละลายเสมหะในระบบทางเดินหายใจ
-บรรเทาอาการไอจากโรคหวัด ไอมีเสมหะ
-ยารับประทาน
-ยาหาซื้อได้เองและตามใบสั่งแพทย์