Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข - Coggle Diagram
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
3.ยุทธศาสตร์ด้านบุคลากรเป็นเลิศ (People Excellence Strategies)
วัตถุประสงค์
เพื่อให้มีกำลังคนด้านสุขภาพที่เพียงพอและมีคุณภาพ มีการกระจายที่เหมาะสมอย่างเป็นธรรมและทั่วถึง รวมทั้งเจ้าหน้าที่มีความสุขในการทำงาน และสามารถตอบสนองต่อความต้องการด้านสุขภาพของประซาซน
แผนงาน
แผนงานที่ 1 การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
โครงการบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
1) ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มี
ประสิทธิภาพ
2) ร้อยละของบุคลากรที่มีความพร้อมรองรับการเข้าสู่ตำแหน่ง
ที่สูงขึ้น ได้รับการพัฒนา
2.โครงการ Happy MOPH กระทรวง
สาธารณสุข กระทรวงแห่งความสุข
1) จำนวนองค์กรแห่งความสุขที่มีคุณภาพ
ยุทธศาสตร์ด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion Prevention
and Protection Excellence Strategies)
วัตถุประสงค์
เพื่อส่งเสริมให้ประซาซนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดี ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ตลอดจนมีการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ และอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีคุณภาพซีวิตที่ดีโดยการมีส่วน ร่วมจากทุกภาคส่วน
แผนงาน
แผนงานที่ 1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย
1.โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทย
ทุกกลุ่มอายุ
ตัวชี้วัด
4) จำนวนการคลอดบุตรมีชีวิตของผู้หญิงอายุ 15-19 ป
5) ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลตาม Care
Plan
3) เด็กไทยมีระดับสติปัญญาเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 100
6) ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ได้รับการดูแลทั้งใน
สถานบริการและในชุมชน
2) เด็กไทยมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการสมวัย
7) ร้อยละผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรองและพบว่าเป็น Geriatric
Syndromes ได้รับการดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอาย
1) อัตราส่วนการตายมารดาไทยต่อการเกิดมีชีพแสนคน
2.โครงการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพของประ
กร
ตัวชี้วัด
1) จำนวนครอบครัวมีความรอบรู้เรื่องสุขภาพ
แผนงานที่ 2 การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
.โครงการการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
(พชอ.)
ตัวชี้วัด
1) ร้อยละของอำเภอผ่านเกณฑ์การประเมินการพัฒนาคุณภาพ
ชีวิต ที่มีคุณภาพ
แผนงานที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
1.โครงการพัฒนาระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
และภัยสุขภาพ
ตัวชี้วัด
ระดับความสำเร็จในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
ของหน่วยงานระดับจังหวัด
2.โครงการควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ตัวชี้วัด
2) ร้อยละของจังหวัดที่ผ่านการประเมินระบบเฝ้าระวังโรคและ
ภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
3) ทุกจังหวัดสามารถควบคุมสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโร
นา 2019 (COVID-19) ให้สงบได้ภายใน 21-28 วัน
4) ระดับความสำเร็จในการเตรียมพร้อมและตอบโต้การระบาด
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
1) ร้อยละการตรวจติดตามกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานและ
หรือความดันโลหิตสูง
3.โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ
และบริการสุขภาพ
ตัวชี้วัด
1) จำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเป้าหมายที่เกิดจากการ
ส่งเสริมผู้ประกอบการให้สามารถรับการอนุญาต
2) จังหวัดมีการขับเคลื่อนการดำเนินงานอาหารปลอดภัยที่มี
ประสิทธิภาพ
แผนงานที่ 4 การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
.โครงการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด
1) ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตาม
เกณฑ์ GREEN&CLEAN Hopital
2) ร้อยละของจังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อการลดลงของอัตราป่วยด้วยโรคที่เกี่ยวกับสุขอนามัยและมลพิษสิ่งแวดล้อม
2.ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence Strategies)
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ประซาซนได้รับบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐาน ทั่วถึง เป็นธรรม ด้วยระบบบริการสุขภาพที่มี
คุณภาพมาตรฐานปลอดภัย เท่าเทียม
แผนงานที่ 1 การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ (Primary Care Cluster)
โครงการพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูม
ตัวชี้วัด
1) จำนวนการจัดตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วย
บริการปฐมภูมิฯ
2) จำนวนประชาชนที่มีรายชื่ออยู่ในหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ที่มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวหรือแพทย์ที่ผ่านการอบรมและคณะผู้ให้บริการสุขภาพปฐมภูมิ
โครงการพัฒนาเครือข่ายกำลังคนด้านสุขภาพ
และ อสม.
ตัวชี้วัด
1) ร้อยละของผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับจากการดูแลจาก อส
ม. หมอประจำบ้านมีคุณภาพชีวิตที่ด
แผนงานที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขา
โรคหัวใจ
ตัวชี้วัด
1) อัตราตายของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด
STEMI และการให้การรักษาตามมาตรฐานเวลาที่กำหนด
โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขา
โรคมะเร็ง
ตัวชี้วัด
1) ร้อยละผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ได้รับการรักษาภายใน
ระยะเวลาที่กำหนด
โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 5 สาขาหลัก (สูตินารีเวช ศัลยกรรม อายุรกรรม กุมารเวชกรรม และออร์โธปิดิกส์
ตัวชี้วัด
1) อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired
2) Refracture Rate น้อยกว่าร้อยละ 20 (ตัวชี้วัดนี้ใช้ได้กรณีที่โรงพยาบาลนั้นทำโครงการมาแล้ว 1 ปี)
โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรค
ไต
ตัวชี้วัด
1) ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<5 ml/min/1.73m2/yr
โครงการการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง (Palliative Care)และดูแลผู้ป่วยกึ่งเฉียบพลัน
ตัวชี้วัด
1) ร้อยละการให้ดูแลตามแผนการดูแลล่วงหน้า (Advance Care Planning) ในผู้ป่วยประคับประคองอย่างมีคุณภาพ
โครงการพัฒนาระบบบริการบำบัดรักษาผู้ป่วย
ยาเสพติด
ตัวชี้วัด
1) ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษาได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพอย่างต่อเนื่องจนถึงการติดตาม(Retention Rate)
โครงการพัฒนาระบบบริการแพทย์แผนไทย
และการแพทย์ทางเลือก
ตัวชี้วัด
1) ร้อยละของผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่ได้รับบริการตรวจ วินิจฉัยรักษาโรค และฟื้นฟูสภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขา
สุขภาพจิตและจิตเวช
ตัวชี้วัด
1) ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต
2) อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ
โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขา
จักษุวิทยา
ตัวชี้วัด
1) ร้อยละของผู้ป่วยต้อกระจกชนิดบอด (Blinding Cataract)
ได้รับการผ่าตัดภายใน 30 วัน
โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขา
ทารกแรกเกิด
ตัวชี้วัด
1) อัตราตายทารกแรกเกิดอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 28 วัน
โครงการบริบาลฟื้นสภาพระยะกลาง
(Intermediate Care)
ตัวชี้วัด
1) ผู้ป่วย Stroke, Traumatic Brain Injury, Spinal Cord Injury และ Fracture Hip (Fragility fracture) ได้รับการบริบาลฟื้นสภาพระยะกลาง และติดตามจนครบ 6 เดือนหรือจนBarthel index = 20
โครงการป้องกันและควบคุมการดื้อยาต้านจุล
ชีพและการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
ตัวชี้วัด
1) ร้อยละจังหวัดที่ขับเคลื่อนการพัฒนาสู่จังหวัดใช้ยาสมเหตุผล (ROU Province) ตามเกณฑ์ที่กำหนด
2) อัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือด
โครงการพัฒนาระบบบริการ One Day
Surgery (ODS)
ตัวชี้วัด
1) ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดแบบ One Day
Surgery
2) ร้อยละของการ Re-admit ภายใน 1 เดือน จากการผ่าตัดโรคนิ่วในถุงน้ำดีหรือถุงน้ำดีอักเสบผ่านการผ่าตัดแผลเล็ก(Minimally Invasive Surgery : MIS)
โครงการพัฒนาระบบบริการโรคติดต่อ โรค
อุบัติใหม่ และโรคอุบัติซ้ำ
ตัวชี้วัด
1) อัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรคปอดรายใหม
2) อัตราป่วยตายของผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19) ของทั้งประเทศ
โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรค
ไม่ติดต่อเรื้อรัง
ตัวชี้วัด
1) อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และระยะเวลาที่ได้รับการรักษาที่เหมาะสม
โครงการกัญชาทางการแพทย
ตัวชี้วัด
1) ร้อยละของหน่วยบริการสาธารณสุขที่มีการจัดบริการคลินิก
กัญชาทางการแพทย์แบบบูรณาการ
โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขา
ปลูกถ่ายอวัยวะ
ตัวชี้วัด
1) อัตราส่วนของจำนวนผู้ยินยอมบริจาคอวัยวะจากผู้ป่วย
สมองตายต่อจำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล
แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ
โครงการพัฒนาระบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
ครบวงจรและระบบส่งต่อ
2) ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
3) ร้อยละโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป ผ่านเกณฑ์ ER คุณภาพ
1) อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (triage level 1)ภายใน 24 ชั่วโมง ในโรงพยาบาลระดับ A,S,M1 (ทั้งที่ ER และ Admit)
แผนงานที่ 4 การพัฒนาตามโครงการเฉลิมพระเกียรติและพื้นที่เฉพาะ
โครงการพระราชดำริ โครงการเฉลิมพระ
เกียรติและโครงการพื้นที่เฉพาะ
1) ร้อยละของหน่วยบริการกลุ่มเป้าหมายมีมาตรฐานการ
บริการสุขภาพนักท่องเที่ยวในพื้นที่เกาะตามที่กำหนด
แผนงานที่ 5 อุตสาหกรรมทางการแพทย์ ครบวงจร การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย
โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและ
การแพทย์
2) มูลค่าการใช้ยาสมุนไพรในเมืองสมุนไพรและจังหวัดในเขต
สุขภาพเพิ่มขึ้น
1) อัตราเพิ่มขึ้นของจำนวนสถานประกอบการด้านการ
ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ได้รับมาตรฐานตามที่กำหนด
4.ยุทธศาสตร์บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล (Governance Excellence Strategies)
วัตถุประสงค์
เพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพอย่างยั่งยืน ด้วยระบบบริหารจัดการอย่างมีธรรมาภิบาล โปร่งใสเป็นธรรม
ตรวจสอบได้
แผนงาน
แผนงานที่ 2 การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ
โครงการพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารเทคโนโลยี่
สุขภาพแห่งชาติ (NHIS)
1) ร้อยละของจังหวัดที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพข้อมูล
โครงการ Smart Hospital
1) ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีระบบบริการรับยาที่ร้านยา มีการ
ดำเนินการตาเกณฑ์ที่กำหนด
แผนงานที่ 3 การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ
โครงการลดความเหลื่อมล้ำของ 3 กองทุน
ความแตกต่างอัตราการใช้สิทธิเมื่อไปใช้บริการผู้ป่วยในของผู้มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า compliancerate
ระดับความสำเร็จของการจัดทำสิทธิประโยชน์กลางการดูแลปฐมภูมิของระบบหลักประกันสุขภาพ 3 ระบบ
โครงการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง
ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน
แผนงานที่ 1 การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ
โครงการประเมินคุณธรรมความโปร่งใส
2) หน่วยงานในสังกัด สธ.ผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA
3) ร้อยละของส่วนราชการและหน่วยงานสังกัดกระทรวง
สาธารณสุขผ่านเกณฑ์การตรวจสอบและประเมินผลฯ
1) หน่วยงานในสังกัด สป.สธ.ผ่านกณฑ์การประเมิน ITA
โครงการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
1) ร้อยละความสำเร็จของส่วนราชการในสังกัดสำนักงาน
ปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ดำเนินการ (PMQA)
2) ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพ
มาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3
3) ร้อยละของ รพ.สต.ที่ผ่านเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพ รพ.สต.
ติดดาว
แผนงานที่ 4 การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ
โครงการพัฒนางานวิจัย/นวัตกรรม ผลิตภัณฑ์
สุขภาพและเทคโนโลยี่ทางการแพท
จำนวนนวัตกรรม หรือเทคโนโลยี่สุขภาพที่คิดค้นใหม่ หรือที่
พัฒนาต่อยอด
ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีนวัตกรรมการจัดการบริการ
สุขภาพ