Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อริยสัจ 4 n_399 - Coggle Diagram
อริยสัจ 4
1.ทุกข์
ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ
1.1.ขันธ์ 5
สัญญา
ความจำ
สังขาร
การรับรู้
เวทนา
ความรู้สึก
ทุกขเวทนา
รู้สึกไม่สบายกาย ไม่สบายใจ
อุเบกขาเวทนา
รู้สึกเฉยๆ
สุขเวทนา
รู้สึกสบายกาย สบายใจ
วิญญาณ
สิ่งที่ปรุงแต่ง
รูป
ร่างกาย
ธาตุน้ำ
ธาตุไฟ
ธาตุดิน
ธาตุลม
1.2.ธาตุ 4
ธาตุน้ำ(อาโป)
สิ่งที่ไหลและเหลว
เลือด/ปัสสาวะ
น้ำเหลือง/น้ำลาย/น้ำมูก
น้ำลาย/เหงื่อ
ธ
าตุลม(วาโย)
สิ่งทั้งหลายที่สั่นไหวเคลื่อนที่
แบ่งเป็น 3 ส่วน
ลมในลำไส้ ลำในกระเพาอาหาร
ผายลม/ตด
ลมหายใจ
ธาตุดิน(ปฐวี)
สิ่งที่มีลักษณะแข็ง
ปาก
ผม
กระดูก
อื่นๆ
ธาตุไฟ(เตโช)
สิ่งทั้งหลายที่ร้อน
การเผาผลานอาหาร
การให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย
2.สมุทัย
ต้นเหตุของทุกข์
2.1.หลักกรรม
กุศลกรรม
กรรมดี
มีความสุข
ความเจริญ
อกุศลกรรม
กรรมชั่ว
ก่อความเดือดร้อนเสียหาย
2.2.อบายมุข 6
หนทางแห่งความเสื่อม
ติดการพนัน
คบคนชั่วเป็นมิตร
ชอบเที่ยวดูการละเล่น
เกียจคร้านการงาน
ชอบเที่ยวกลางคืน
ติดสุราและของมึนเมา
3.นิโรธ
สภาพปราศจากทุกข์
3.1.คิหิสุข
อนณสุข
เกิดจากการไม่มีหนี้สิน
โภคสุข
จากการใช้จ่ายทรัพย์
อัตถิสุข
เกิดจากการ
มีทรัพย์
อนวัชชสุข
จากการประพฤติสิ่งไม่มีโทษ
เป็นความสุขที่บุคคลทั่วไปพึงมี
3.2.สุข 2
กายิกสุข
ความสบายกาย
ได้ฟังเพลงที่ชอบ
ได้เห็นรับประทานอาหารอร่อย
เจตสิกสุข
ความสบายใจ
ได้รับความรัก
มีจิตใจสงบ
มีคนรัก ยกย่อง สรรเสริญ
4.มรรค
หนทางดับทุกข์
4.3.ปธาน 4
ปหานปธาน
กำจัดอกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว
ภาวนาปธาน
เพียรทำกุศลธรรมที่ยังไม่เกิด
สังวรปธาน
ระวังยับยั้งอกุศล ที่ยังไม่เกิดมิให้เกิดขึ้นได้
อนุรักขนาปธาน
รักษากุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้วให้คงอยู่
4.4.โกศล 3
อปายโกศล
ความฉลาดในความเสื่อม
วุฑฒิธรรม 4
อายโกศล
ความฉลาดที่ทำให้รู้ว่าความเจริญ
อบายมุข 4
อุปายโกศล
ความฉลาดในอุบาย
อิทธิบาท4
4.2.ไตรสิกขา
จิตตสิกขา
เกิดสมาธิ
มีความพยายามชอบ
ระลึกชอบ และตั้งจิตมั่นชอบ
ปัญญาสิกขา
มีความเห็นชอบ
ดำริชอบ
เกิดความรู้แจ้ง
ศีลสิกขา
ความประพฤติ
เลี้ยงชีพชอบ
มีเจรจาชอบ
4.5.มงคล
ธรรมอันนำมาซึ่งความสุขความเจริญ
ก
ารไม่คบคนพาล
เป็นคนพาลคนชั่ว
ก
ารคบบัณฑิต
บุคคลที่มีปัญญา
ปัญญาเลิศ
4.1.กรรมฐาน 2
วิปัสสนากรรมฐาน
ทำใจให้สงบ
เพื่อให้เกิดความสงบ
หรือการฝึกสมาธิ
สมถกรรมฐาน
การฝึกอบรมปัญญาให้รู้แจ้ง
หรือการเจริญปัญญา