Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคระบบทางเดินหายใจเเละโรคระบบปัสสาวะ 29 มิย 65 นางสาวจิรัชญา พรหมชนะ…
โรคระบบทางเดินหายใจเเละโรคระบบปัสสาวะ
29 มิย 65
นางสาวจิรัชญา พรหมชนะ เลขที่ 10
รหัสนักศึกษา 62126301012
LOWER RESPIRATORY
TRACT INFECTION
Acute Bronchitis
เเบ่งเป็น 2 ระยะ
ระยะเเรก 1-5 วัน จะมีอาการไอเเละอาการอื่นๆขึ้นกับเชื้อเเต่ละชนิด อาจจะมีไข้ เหนื่อย ปวดเมื่อยตามตัว อ่อนเพลีย เจ็บคอ คัดจมูก
ระยะที่สอง 5-20 วัน จะมีอาการไอ เสมหะ
จากbronchial hypersensitivity
Dx.จากประวัติไอ>5 วัน โดยต้อง exclude pneumonia, asthma, COPD ออกไปก่อน
การรักษา
Tx: ให้ education, β2-agonist ในรายที่มี wheezing,
antitussive (dextromethorphan, codeine) ให้จำกัดการใช้เฉพาะรายที่ไอมาก
การรักษาจำเพาะในรายที่สงสัย pertussive ให้ ATB กลุ่ม macrolide (เช่น azithromycin 500 mg ใน D1 และ 250 mg/d ใน D2-5 )
รายที่เป็น influenza มาภายใน 48 ชั่วโมง ให้ Oseltamivir
75 mg PO BID x 5 วัน
ให้ ATB ในกลุ่มเสี่ยง เช่น อายุ>65 ปี, smoking, DM, CHF,
on steroid เป็นต้น
Pneumonia
Community-acquired pneumonia (ปอดอักเสบชุมชน) คือ acute consolidative lower respiratory tract infection ในผู้ป่วยที่ไม่ได้รับเชื้อจากในการดูเเลในสถานพยาบาล(ไม่ได้อยู่รพ.เกิน 14 วันเเล้ว)
Ix: CXR; สำหรับใช้ในการประเมิน risk ได้เเก่ CBC,BUN,Cr,electrolytes, glucose ซึ่งไม่จำเป็นถ้าอายุ<50ปี เเละมีอาการเล็กน้อย
Sputum G/S, sputum C/S; H/C
การรักษา
OPD case: Macrolide
clarithromycin 1,000mg/d x7d
Azithromycin 500mg d1, 250mg d 2-5
OPD case with significant comorbidity (heart, lung, kidney,liver, DM, alcoholism, malignancies, immunocompromised) หรือ ได้ ATB ภายใน 90 วัน : Fluoroquinolone
Levofloxacin 750 mg/d for 5d
Moxifloxacin 400 mg/d for 7-14d
Betalactam (Augmentin 2 gm bid) + Macrolide
Influenza Bronchitis
ไข้เฉียบพลัน ไอ เจ็บคอ คัดจมูก น้ำมูกไหล ปวดเมื่อยตามตัว ปวดศีรษะ
Ix: nasal swab (IFA) for influenza ในช่วงระบาดเเนะนำให้ตรวจในรายที่ admit,high-risk
Tx: Antiviral
ยาที่ใช้รักษา
Oseltamivir 75mg PO BID x 5 days
< 15 kg 30 mg PO BID
15 - 23 kg 45 mg PO BID
24 - 40 kg 60 mg PO BID
40 kg 75mg PO BID
Pulmonary tuberculosis
อาการ
ไอ มักมีเสมหะ (มักมีอาการดังกล่าวมานานกว่า
3 สัปดาห์) ไข้ต่ำๆ เบื่ออาหาร น้ำหนักตัวลดลง
การตรวจร่างกาย
หากผิดปกติ breath sounds >> crepitation
consolidation >> Bronchial breath
sound
หากมี lesion ที่หลอดลม >> rhonchi (central rhonchi)
pleural effusion (TB pleuritis) >>
decrease breaths sounds/ vocal resonance
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
สารคัดหลั่งจากส่วนต่างๆของร่างกาย เช่น เสมหะ น้ำล้างจากกระเพาะ หนอง น้ำไขสันหลัง ปัสสาวะ อุจจาระ
วิธีการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เเบ่งเป็น 6 ประเภท
การตรวจหาเชื้อ acid fast bacilli(AFB)
การตรวจเพาะเลี้ยงเชื้อ และ พิสูจน์ยืนยันชนิด (mycobacterial culture
and identification)
การทดสอบความไวต่อยา (drug susceptibility testing)
การทดสอบทางอณูชีววิทยา (molecular biology testing)
การทดสอบแอนติเจนของเชื้อวัณโรค (TB antigen testing)
การทดสอบการตอบสนองของร่างกายต่อการติดเชื้อ(immune
reactivity testing)
ยารักษาวัณโรค
2HRZE/ 4HR สำหรับผู้ป่วยใหม่ที่เชื้อไวต่อยาที่ยังไม่เคยรักษาหรือเคยรักษามาไม่เกิน 1 เดือน
First-line drugs (FLD) Isoniazid, rifampicin, pyrazinamide, ethambutol
CHRONIC OBSTRUCTIVE PULMONARY DISEASE
มีลักษณะสำคัญ คือ อาการทางระบบหายใจและ
ภาวะหลอดลมอุดกั้น มีอยู่ตลอดเวลา
เกิดจากความผิดปกติของหลอดลม และ/หรือ ถุงลมจากการสัมผัสอนุภาคหรือ ก๊าซที่เป็นอันตราย
โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง Chronic bronchitis
มีอาการไอเรื้อรัง มีเสมหะปีละอย่างน้อย 3 เดือน และติดต่อกัน
อย่างน้อย 2 ปี
เหนื่อยเป็นแบบมากขึ้นเรื่อยๆ
ไอเรื้อรังมีเสมหะ โดยเฉพาะช่วงเช้า หรือ ไม่มีก็ได้บางราย
อาจมีไอเป็นเลือด หรือ เจ็บหน้าอก
โรคถุงลมโป่งพอง EMPHYSEMA เกิดการทำลายของถุงลมเเละ RESPIRATORY BRONCHIOLE ทำให้ขยายตัวโป่งพองอย่างถาวร
เหนื่อย ไอเเห้งหรือ ไอมีเสมหะ
การตรวจร่างกาย
มีลักษณะของ air trapping และ air flow limitation เช่น มีการเพิ่มของ anteroposterior diameter(A-P) ค่าปกติ คือ 1 : 2 ถึง 5 : 7 เคาะโปร่ง
การถ่ายรังสีทรวงอก ไม่ใช้ในการวินิจฉัยโรค เพราะมีความไวน้อย แต่มีความสำคัญในการช่วยวินิจฉัยแยกโรคอื่น ที่ผู้ป่วยมาด้วยอาการเหนื่อย
หรือไอเรื้อรัง กระบังลมเเบนราบ มีหัวใจขนาดเล็ก
การวินิจฉัยเเยกโรค
โรคหืด ASTHMA
หายใจเสียงหวีด หอบเหนื่อย แน่นหน้าอก ไอ
อาการแย่ช่วงกลางคืน หรือ รุ่งเช้า
อาการและความรุนแรง แปรปรวนตลอดเวลา
ภาวะหัวใจล้มเหลว CONGESTIVE HEART FAILURE
มีอาการเหนื่อยหายใจมีเสียงหวีด
orthopnea,edema,paroxysmal nocturnal dyspnea
ภาพถ่ายรังสีทรวงอก มี pulmonary congestion
และ cardiomegaly
โรคหลอดลมพอง BRONCHIECTASIS
มีเสมหะปริมาณมากหรือมีอาการกำเริบบ่อยครั้ง อาจได้ประวัติเคยเป็นวัณโรค ภาพถ่ายรังสีทรวงอกมีลักษณะที่ทำให้สงสัย tram-track opacity
ยาขยายหลอดลมใช้รักษาโรคอุดกั้นเรื้อรัง
Salbutamol สูด 1-2 puff ทุก 4-6 ชม.
เมื่อมีอาการ
Berodual สูด 1-2 puff ทุก 6-8 ชม.
เมื่อมีอาการ
Seretide accuhaler สูด 1 dose ทุก 12 ชม.
Asthma
เป็นโรคที่มีการอักเสบของหลอดลม ทำให้มีการอุดกั้นของหลอดลม ส่งผลให้มีอาการหอบเป็นช่วงๆ อาการที่พบบ่อยคือ ไอ หายใจเสียงหวีด หายใจไม่อิ่ม เเน่นหน้าอก
เป้าหมายเเละการประเมินผู้ป่วยโรคหืด
3 ประเมิน การวินิจฉัยเเละโรคที่พบร่วม,ระดับการควบคุมโรค/ปัจจัยเสี่ยง,เทคนิคสูดพ่นยา/ความร่วมมือการใช้ยา
3 ทบทวน การตอบสนองการรักษา,สมรรถภาพปอด,
อาการไม่พึงประสงค์
3 ปรับ การรักษาตามระดับการควบคุมโรค,เสริมการรักษาโดยไม่ใช้ยา,เพิ่มความรู้เกี่ยวกับโรคหืด/การปฏิบัติตัว
ยาที่ใช้พ่นเมื่อมีอาการหอบ
Salbutamol nebulizer
solution (Ventolin)
(5mg/ml)
เด็ก = 0.03 mg/kg/dose
ต่ำสุด 2.5mg
สูงสุด 1 ml = 5 mg
ให้ทุก 15 นาที 1-2 ครั้ง
ผู้ใหญ่ = ผสมกับ NSS เป็น 1 : 3
ให้ทุก 15 นาที 1-2 ครั้ง
อาการสนับสนุน
1.อาการเป้นช่วงกลางคืนหรือเช้ามืด
2.กระตุ้นโดยสารก่อภูมิเเพ้หรือสารระคายเคืองหรือออกกำลังกาย
3.มีการตอบสนองของการรักษา
RESPIRATORY OBSTRUCTION
การที่ทางผ่านของลมหายใจที่จะลงไปสู่ลงปอด ตั้งเเต่จมูก ช่องคอ กล่องเสียง หลอดลมใหญ่ เเละหลอดลมฝอย
มีการอุดกั้นเกิดขึ้น
อาการ
ไอสำลัก (choking,gagging) อาจมีไอเป็นเลือดหรือมาด้วยภาวะปอดอักเสบ
เสียงแหบ (hoarseness)
หายใจครืดคราด มีเสียง wheezing, rhonchi หรือ stridor
ตัวเขียว (cyanosis)
การวินิจฉัยและการประเมิน
สิ่งสำคัญคือการตรวจดูบริเวณกล่องเสียงเเละหลอดลม การตรวจพิเศษ – CXR +/- film neck,Arterial Blood Gas,การส่องกล่องตรวจดูกล่องเสียง Endoscope
แนวทางการรักษา
1.ต้องวินิจฉัยให้ได้ว่าการอุดกั้นเกิดที่ตำเเหน่งใด
2.ต้องรู้สภาพทั่วไปของผู้ป่วย มีการบาดเจ็บหรือภาวะอื่นร่วมด้วยหรือไม่
เช่น C-spine injury, sepsis
3.เลือกวิธีเเก้ไขโดยใช้วิธีที่ง่ายเเละมีการบาดเจ็บน้อยที่สุดก่อน
การช่วยเหลือในภาวะฉุกเฉิน
กรณีที่ผู้ป่วยรู้สึกตัวผู้ป่วยยังพูดได้หรือร้องมีเสียง ควรให้ผู้ป่วยพยายามไอ เพื่อนำ FB ออกเอง
เด็กอายุ<1ปี Five back blows and Five chest thrusts
เด็กอายุ>1ปี Heimlich maneuver
Acute Laryngotracheitis (Croup)
พบได้ย่อยในเด็กอายุน้อยกว่า 3 ปี สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส ผู้ป่วยมักมีอาการหวัดนำมาก่อน 2-3 วัน เเละการดำเนินโรคมักค่อยเป็นค่อยไป
ตรวจร่างกายพบลักษณะ ไอเสียงก้อง (croupy-harsh/barking cough) ร้องเสียงเเหบรวมถึงอาจมี biphasic stridor
การรักษา การใช้ Adrenaline Nebulization,บางรายอาจต้องให้ corticosteroid ร่วมด้วยเพื่อลดอาการบวมรวมถึงควรเฝ้าดูอาการอย่างใกล้ชิด
PULMONARY EDEMA
ภาวะที่เกิดจากการมีของเหลวในถุงลมปอดมากผิดปกติ ส่งผลให้ผู้ป่วยหายใจ
ลำบากหรือหายใจไม่อิ่มเนื่องจากขาดออกซิเจน
เกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ เช่น :
หัวใจผิดปกติ ปอดบวมติดเชื้อ สัมผัสกับสารพิษหรือการใช้ยาบางชนิด เป็นต้น
อาการของน้ำท่วมปอด ชนิดเฉียบพลัน
หายใจไม่อิ่มอย่างรุนแรง หรือหายใจลำบากเมื่อนอนลง
กระสับกระส่าย สับสน วิตกกังวล
เจ็บหน้าอก หากมีสาเหตุมาจากโรคหัวใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว
ไอมีเสมหะเป็นฟองสีชมพู
อาการของน้ำท่วมปอด ชนิดเรื้อรัง
หายใจไม่อิ่มขณะทำกิจกรรมต่างๆ
หายใจมีเสียงครืดคราดมีเสียงหวีด
หายใจลำบากเมื่อต้องออกเเรงหรือเมื่อนอนราบ
ตื่นนอนกลางดึกเพราะหายใจลำบาก
น้ำหนักเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วสาเหตุจากภาวะหัวใจวาย
สาเหตุของน้ำท่วมปอด
โดยทั่วไปจะมีสาเหตุมาจากภาวะหัวใจล้มเหลว เกิดจากหัวใจห้องล่างซ้ายไม่สามารถสูบฉีดเลือดที่มาจากปอดไปยังส่วนอื่นของร่างกายได้ตามปกติ เกิดเเรงดันเพิ่มขึ้นเเละย้อนกลับไปที่ปอด
การวินิจฉัย
การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเเดง
การตรวจระดับออกซิเจนในเลือด
การตรวจ Echocardiogram หรือ ultrasound เพื่อหาความผิดปกติของหัวใจ
การเอกซเรย์ปอด
การตรวจคลื่นไฟฟ้า เพื่อดูความผิดปกติของจังหวะการเต้นของหัวใจ
การรักษา
กลุ่มยาลดเเรงดัน เช่น ยา nitroglycerin เเละยา Furosemide เป็นต้น
กลุ่มยาขยายหลอดเลือดเเละลดความดันในหัวใจห้องล่างซ้าย เช่น ยา Nitropusside
Morphine อาจนำมาใช้เพื่อบรรเทาอาการหายใจไม่อิ่มเเละอาการวิตกกังวล
ยารักษาความดันโลหิต
ACUTE URINARY RETENTION
สาเหตุ
Obstructive เช่น BPH, cancer, stone, stricture, cystocele
Neurologic เช่น MS, Parkinson’s disease, Brain (tumors, stroke)
Infectious เช่น cystitis, Herpes simplex, Herpes zoster
ซักประวัติเเละตรวจร่างกาย
อาการ obstructive symptoms ได้เเก่ ปัสสาวะไม่พุ่ง ลำเล็กนาน ไม่สด ปัสสาวะเล็ด
อาการ irritative symptoms (UTI) เช่น ปัสสาวะบ่อย กลั้นไม่อยู่ กลั้นได้ไม่นาน
ตรวจ lower abdomen, external genitalia, PV, PR
การรักษา
ใส่สายสวนปัสสาวะ เเล้วคาสายสวนไว้ก่อน
ในรายที่มีเลือดออกเเละมีก้อนเลือด ต้องสวนล้างถ้ายังมีเลือดไหลอยู่ให้ใช้ไฟฟ้าจี้ห้ามเลือดหรือสวนล้างด้วยน้ำเกลือ
ในรายที่ใส่สายสวนไม่ได้เพราะท่อปัสสาวะตีบ หรือต่อมลูกหมากโต ใช้เครื่องมือถ่างขยายท่อปัสสาวะ
ในรายที่ไม่สามารถใส่สายสวนหรือขยายท่อปัสสาวะได้ ต้องระบายออกทางหน้าท้องโดยผ่าตัดหรือเจาะรูทางหน้าท้องเหนือหัวหน่าว
ลักษณะทางคลินิก LOWERTRACTINFECTION
acute cystitis มักไม่มีไข้ หรือไข้ไม่ชัดเจน
frequency, urgency, dysuria, suprapubic tenderness, cloudy urine, hematuria
ยา Ofloxacin, Amoxicillin, Ciprofloxacin
ลักษณะทางคลินิก UPPERTRACTINFECTION
acute pyelonephritis มีไข้สูง หรือไข้หนาวสั่น ปวดเเละเคาะเจ็บที่ CVA บางครั้งมาด้วยภาวะ sepsis,septic shock
ยา ในรายที่มีอาการไม่รุนเเรง ใช้ยารับประทานได้ เช่น
Fluoroquinolone 10-14 วัน
INVESTIGATIONS
UA :
mid-stream clean catch technique
pyuria – WBC ≥ 10 cells/HPF ใน uncentrifuged urine หรือ ≥ 25 ใน centrifuge urine ร่วมกับมีbacteriuria Urine culture
Acute glomerulonephritis
อาการ
ไข้สูง ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
บวมทั้งตัว ปัสสาวะออกมาเป็นสีเเดงเหมือนน้ำล้างเนื้อ
การเเยกโรค
อาการบวมทั้งตัว
โรคไตเนโฟรติก (nephriticsyndrome)
เป็นโรคไตอักเสบชนิดหนึ่ง ทำให้ร่างกายมีการสูญเสียโปรตียออกมาทางปัสสาวะ เนื่องเพราะความผิดปกติของหน่วยไต จะมีอาการบวมทั้งตัว ปัสสาวะออกมามากเเละไม่มีไข้
ภาวะหัวใจล้มเหลว (congestive heart failure)
มีอาการเท้าบวมทั้ง 2 ข้าง เเละหายใจหอบเหนื่อย นอนราบ(หนุนหมอนใบเดียว)
ไม่ได้รู้สึกเเน่น อึดอัด หายใจลำบาก
ภาวะขาดสารอาหาร ขาดโปรตีน มีอาการบวมทั้งตัวโดยที่ถ่ายปัสสาวะปกติ
Hematuria ปัสสาวะออกเป็นสีเเดง อาจเกิดจากนิ่วในไตหรือเนื้องอกในไต
มักจะไม่มีอาการบวมหรือมีไข้ร่วมด้วย
การวินิจฉัยเบื้องต้น
อาการบวม เเละปัสสาวะเเดง ร่วมกับมีประวัติการติดเชื้อในคอหรือผิวหนังมาก่อน การตรวจร่างกายมักพบว่า มีไข้สูง
ความดันเลือดสูง
ยืนยันการวินิจฉัยโรคโดย การตรวจปัสสวะ (พบ RBC และ WBC ปริมาณมากกว่าปกติเเละพบสารไข่ขาว), ตรวจเลือดอาจพบBUN/Crสูง บ่งบอกว่าไตขับของเสียไม่ได้เต็มที่,บางรายอาจต้องถ่ายภาพไตด้วยรังสีเอกซดรย์หรืออัลตราซาวน์
การรักษา
ถ้ามีประวัติการติดเชื้อในคอหรือผิวหนังให้ยาปฏิชีวนะ ได้เเก่ penicillin V หรือ erythromycin
ให้ยาขับปัสสาวะลดบวม
-ให้ยาลดความดัน ถ้ามีความดันเลือดสูง
ให้ยาเเก้ชักในรายที่มีอาการชัก
ทำการล้างไต ในรายที่มีภาวะไตวายรุนเเรง
SHOCK
Stages of Shock
Nonprogressive stage (Compensated stage)
ร่างกายสามารถมีกลไกปรับชดเชยได้ โดยยังไม่ต้องการรักษาจากภายนอกร่างกายที่ชัดเจน
Progressive stage
ภาวะช็อกที่ดำเนินต่อไปเเละเเย่ลงเรื่อยๆเป็น vicious cycle ของเสียเริ่มคั่ง
Irreversible stage
มีการล้มเหลวของหลายๆอวัยวะ (Multipleorganfailure)
การประเมินผู้ป่วย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย โดยเฉพาะ v/s,ระดับความรู้สึกตัว,ค้นหาสาเหตุ เช่น เเผล การเสียเลือดช่องทางต่างๆ การติดเชื้อ
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การประเมินต้องทำควบคู่กับการรักษา
การรักษา
Specific Treatment จัดการสาเหตุ เช่น ผ่าตัด ห้ามเลือด ให้ยาปฏิชีวนะหรือยาอื่นๆ
2.Supportive Treatment
Cardiovascular support
Respiratory support
Metabolic support
Early Dx and Rx of complication เช่น Acute renal failure
การจำเเนกภาวะช็อก
Hypovolemic Shock
เกิดเมื่อ volume ในระบบไหลเวียนโลหิตลดลง
Acute hemorrhage ทำคลอดตกเลือด
Water and electrolyte loss มีอาเจียน
Third space loss
Burn
Treatment
Specific treatment ให้สารน้ำเเละ electrolytes ชดเชย,รายที่เสียเลือดเกิดกว่า 20% ของ blood volume ควรให้เลือด,รักษาสาเหตุ เช่น ผ่าตัดห้ามเลือด,ทำเเผล Burn,รักษาท้องเสีย
Supportive and symptomatic treatment
ดูเเลเรื่อง Ventilation and oxygenation +/- ET tube
& Ventilator,รักษาภาวะสมดุลกรดด่าง,ยา Vasopressor เช่น Dopamine, Norepinephrine
Cardiogenic Shock
Cardiac output ที่ต่ำลงทำให้มีการหลั่ง catecholamine ออกมามากทำให้เส้นเลือดทั่วไปหดตัว เลือดก็จะไปเลี้ยงอวัยวะเเละเนื้อเยื่อต่างๆน้อยลง
Treatment
Specific treatment ให้ยา antiarrhythmicdrug ในรายหัวใจเต้นผิดจังหวะ, diureticในราย fluid overload
Supportive and symptomatic treatment
ดูเเลเรื่องการหายใจเเละออกซิเจน,ลดความต้านทานของหลอดเลือดเเดง อาจใช้ยา เช่น าเช่น Sodium Nitroprusside, Nitroglycerin
Septic Shock
ในระยะเเรกจะเเตกต่างจากช๊อกอย่างอื่น คือ จะมีผิวหนังอุ่น สีชมพู จากผลของหลอดเลือดขยายตัว (vasodilatation), conscious และ urine output จะดี
Treatment
Specific treatment การกำจัดการติดเชื้อ ระบายหนอง การให้ยาปฏิชีวนะ
Supportive and symptomatic treatment การให้สารน้ำที่เพียงพอ,การ support ระบบต่างๆเหมือนการรักษาในช๊อกเเบบอื่นๆ
Neurogenic Shock
การรักษา
กำจัดสาเหตุอย่างการใส่ Tube ในรายที่มี gastric dilatation, การดึงรั้งอวัยวะภายในหรือสิ่งที่ทำให้เจ็บปวดหรือกลัว
กรณี high spinal block หรือ spinal cord injury หลังให้สารน้ำอย่างเพียงพอเเล้วอาจให้ยา vasopressor เช่น Ephedrine หรือ Aramine
การเพิ่ม Blood pressure ให้สูงกว่า critical perfusion pressure
คือให้ MABP>60 หรือ SBP>80
หรือ ผู้ป่วยไม่มี clinical impaired organ function โดย
*A : Correct mechanical cause
Tension pneumothorax
Cardiac tamponade
*B : Rate and rhythm control
Severe tachycardia ทำให้ preload น้อย Stroke
volume น้อย Cardiac output น้อย ทำให้ ความดันโลหิตต่ำ
โดยเฉพาะ HR > 150 /min
Severe bradycardia อัตราการเต้นของหัวใจลดลง Cardiacoutput ลดลง ทำให้ความดันโลหิตต่ำ
โดยเฉพาะ HR < 50 /min
ถ้าเป็น Sinustachycardia ไม่ต้องทำการลด HR
*C : Volume expansion
การที่ผู้ป่วยมีความดันต่ำ หากเกิดจากภาวะขาดน้ำในผู้ป่วย น่าจะมีน้ำในเส้นเลือดลดลงประมาณ 25-30% ควรให้สารน้ำอย่างรวดเร็ว
สารน้ำที่เลือกอันดับเเรก คือ Crystalloidsolution
*D : Vasopressor
หากทำทั้ง 3 ข้อข้างต้นเเล้ว ยังไม่สามารถเพิ่มความดันได้ เราจะทำการเพิ่มความดันโดย การเพิ่ม Resistance โดยการให้ Vasopressor เพื่อเพิ่มความดัน
*D: Decrease afterload
Afterload คือแรงต้านของหัวใจตอนบีบตัว โดยหัวใจสามารถสู้เเรงต้านโดย Stroke volume ไม่ลดได้ระดับหนึ่งหากเกินกว่านี้ จะทำให้ Stroke volume ลดลงตาม Afterload ที่เพิ่มขึ้น เราสามารถลด Afterload ได้โดยให้ยาขยายหลอดเลือดเเดง
E : increase contractility
โดยการให้ยา inotropicdrug ได้เเก่ Beta-adrenergic drug,Phosphodiesterase inhibitors