Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วย ติดสารเสพติด - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วย ติดสารเสพติด
โรคติดสุรา
ภาวะที่มีรวามต้องการหรือพึ่งพาสุรา โดยการเพิ่มปริมาณการดื่มมากขึ้นความต้องการดื่มอยู่เสมอควบคุมพฤติกรรมการดื่มไม่ได้ หมกมุ่นกับการดื่ม จนทำให้มีความบกพร่องต่อหน้าที่ทางสัมคม อาชีพการงาน
สาเหตุของโรคติดสุรา
ปัจจัยด้านพันธุกรรม : ปัจจัยเสี่ยงร้อยละ 50-60
ปัจจัยด้านชีวเคมี : มีประวัติในวัยเด็กซึ่งบ่งถึงความบกพร่องของพัฒนาการทางสมอง
ปัจจัยด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม : ดื่มสุราเป็นสิ่งปกติ เรียนรู้จากกลุ่มเพื่อน และแบบอย่างในครอบครัวที่ดื่มสุรา
ปัจจัยด้านจิตวิทยา: ใช้สุราเพื่อลดความตึงเครียด เพิ่มความรู้สึกมีอำนาจ และลกความเจ็บปวดทางใจ
ปัจจันที่เกี่ยวข้องกับการฆ่าตัวตาย
ปัจจัยทางชีวภาพ (Biological Factors) จากการเปลี่ยนแปลงของสารสื่อประสาท หรือสารเคมีในสมอง ได้แก่ Serotonin, Dopamine
ปัจจัยทางจิตใจ ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ เชื่อว่า การฆ่าตัวตายเกิดจากความขัดแย้งในจิตใจระหว่างความต้องการมีชีวิตและความต้องการเสียชีวิต
ปัจจัยทางสังคม (Biological Factors) เชื่อว่าเกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและสิ่งแวดล้อมในสังคม
ผลกระทบโรคติดสุรา
ด้านร่างกาย : ทำให้เกิดฮรคในระยะยาว เช่น โรคตับอักเสบ ตับแข็ง พิษต่อตับอ่อน
ด้านจิตใจและระบบประสาท : พฤติกรรมก้าวร้าว อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย ความตัดสินใจผิดพลาด การเรียนรู้
ผลกระทบด้านครอบครัว
ผลกระทบต่อสังคม : เศรษฐกิจและการทำงาน
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะถอนพิษสุรา
การดำเนินของโรค
อาการขาดแอลกอฮอล์ (Alcohol withdrawal) มักเกิดภายใน 6-48 ชั่วโมง หลังหยุดดื่มหรือลดการดื่ม
อาการเล็กน้อยถึงปานกลาง เป็นมากที่สุดใน 24-48 ชั่วโมงหลังดื่มครั้งสุดท้าย และดีขึ้นและหายไปได้ภายใน 5-7 วัน
อาการรุนแรง เช่น Delirium tremens (DTs) มักเริ่มเกิดขึ้น ภายใน 2-3 วัน หลังหยุดดื่มมหรือดื่มน้อยลงอาการมักรุนแรงที่สุดในวันท่ี4-5 มักเกิดขึ้นภายใน 10 วัน
สำหรับภาวะชักจากอาการถอนพิษแอลกอฮอล์มักเกิดใน 12-48 ชั่วโมง หลังหยุดดื่ม
รับดับความรุนแรงของอาการขาดแอลกอฮอล์
ระยะที่ 1 เล็กน้อย ตั้งแต่ 6-36 ชั่วโมงหลังดื่มครั้งสุดท้าย ได้แก่ มือสั่น หงุดหงิดวิตกกังวลเล็กน้อย ปวดศีรษะ เหงื่อออก ใจสั่น
ระยะที่ 2 ปานกลางถึงรุนแรง ช่วง 24-72 ชั่วโมงหลังหยุดดื่มครั้งสุดท้าย มีอาการ autonomic hyperactivity มีชีพจรเต้นเร็ว มีความดันโลหิตสูง กระวนกระวาย กระสับกระส่ายมากขึ้น
ระยะที่ 3 รุนแรงเพ้อคลั่ง Delrium เกิดในช่วง48-96 ชั่วโมงหลังดื่มครั้งสุดท้าย มีภาวะสับสน มี Disorientation
อาการชักจากการชาดแอลกอฮอล์ ในระหว่างที่มีอาการตามระยะที่ 1-3 ผู้ป่วยอาจเกิดอาการชักได้
เครื่องมือความเสี่ยงภาวะอาการขาดสุรา
everity Assessment Scale (SAS)
Minneapolis Detoxification Scale (MINDS)
Clinical Institute Withdrawal Assessment for
Alcohol-Revised Version (CIWA-Ar)
Short Alcohol Withdrawal Scale (SAWS)
Alcohol Withdrawal Scale (AWS)
การบำบัดรักผู้ป่วยโรคติดสุรา
การบำบัดรักษาทางชีวภาพ การใช้ยาในกลุ่ม Benzodiazepine นิยมใช้ diazepam lorazepam
การบำบัดทางจิตสังคม (Psychosocial therapies) : BA,BI,MET/MI,CBT
การพยาบาล
การพยาบาลในระยะถอนพิษ
1.ประเมินสุขภาพ : การซักประวัติการดื่มสุรา
2.ประเมินและติดตามระดับความรุนแรงของอาการถอนพิษสุรา
3.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษาของแพทย์
4.เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนจากอาการถอนพิษสุรา
5.จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม เงียบสงบ และปลอดภัย
6.ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
7.ดูแลความสุขสบายด้านร่างกาย
8.การให้ข้อมูลผู้ป่วยและญาติ
การพยาบาลในระยะบำบัดฟื้นฟูสุขภาพ
เป็นระที่ถือเป็นหัวใจของการบำบัดรักษาผู้ป่วยโรคติดสุรา พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการให้คำปรึกษา เป็นกระบวนการช่วยเหลือด้านจิตใจและสังคม