Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินหายใจ, 86DBE159-55B7-4826-B6B0-643AE447823E , …
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินหายใจ
Antiasthmatic drugs ยารักษาโรคหอบหืด ประเภทยาขยายหลอดลม
Adrenaline (Epinephrine)
ข้อบ่งใช้
รักษาความผิดปกติของการหายใจ เช่น ภาวะหอบหืด
การออกฤทธิ์
กระตุ้นตัวรับ α และ β-adrenergic ภายในระบบประสาทซิมพาเธติค
ใช้รักษาภาวะหดเกร็งของหลอดลมและการแพ้ยาชนิด Anaphylaxi
ผลข้างเคียง
รายงานแพทย์เมื่อจังหวะการเต้นของหัวใจผิดจังหวะ
Aminophylline
ข้อบ่งใช้
บรรเทาอาการหอบหืด
การออกฤทธิ์
ขยายหลอดลม เพิ่มการบีบตัวของหัวใจทำให้หลอดเลือดขยายตัวและมีฤทธิ์ในการขับปัสสาวะด้วยจึงมีผลแก้ไขภาวะน้ำท่วมปอดได้ดีการที่ฉีดยานี้เข้าหลอดเลือดดำ อาจมีผลทำให้เต้นผิดจังหวะได้
ผลข้างเคียง
ความดันโลหิตต่ำ ใจสั่นหัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ กระสับกระส่าย หงุดหงิด คลื่นไส้ อาเจียน ปัสสาวะคลั่งค้าง ปวดศีรษะและอาจเกิดอาการชัก
ข้อแนะนำการใช้ยา
-รับประทานยาอย่างถูกต้อง ครบห้ามหยุดยาเองโดยเด็ดขาด
-รับประทานยาหลังอาหาร
-ดื่มน้ำ มากๆ เพื่อให้เสมหะอ่อนตัวและขับออกได้ง่าย
-หากมีอาการผิดปกติควรพบแพทย์
Bambuterol
ข้อบ่งใช้
ป้องกันการเกิดอาการหอบหืด
และการหดเกร็งของหลอดลม
การออกฤทธิ์
เป็น β2-adrenergic agonist ที่มีฤทธิ์ยาว
ผลข้างเคียง
อาจเพิ่มอัตราการเต้นของ หัวใจ มือสั่น ปวดศีรษะ กล้ามเนื้อเกร็ง
Fenoterol
ข้อบ่งใช้
ป้องกันการเกิดอาการหอบหืด
และการหดเกร็งของหลอดลม
การออกฤทธิ์
เป็น
β2-adrenergic agonist
ผลข้างเคียง
กระสับกระส่าย มึนงง กลัว เหนื่อยล้า หัวใจเต้นเร็ว แสบอก
พ่นยาตามแผนการรักษาหากพ่น 2 Puff ให้พ่นห่างกัน 1นาทีหรือพ่นให้ห่างจากยาอื่น 5 นาที
ระวังยาเข้าตา
ยาอาจทำให้ปากแห้งควรบ้วนปาก
Ipratropium
ข้อบ่งใช้
รักษาผู้ป่วย Chronic bronchitis
และ Emphysema
การออกฤทธิ์
ยาประกอบด้วย Ipratropium
bromide ซึ่งเป็นยาประเภท Anticholinergic ออกฤทธิ์ลดการเกร็งของหลอดลมและ Fenotero hydrochloride ซึ่งเป็นยา β2-adrenergic ออกฤทธิ์ขยายหลอดลม
ผลข้างเคียง
อาจพบอาการกล้ามเนื้อสั่นกระสับกระส่ายที่พบไม่บ่อยนัก ได้แก่ อาการหัวใจเต้นเวียนศีรษะ ใจสั่น
Procaterol
การออกฤทธิ์
เป็น β2- adrenergic agonist
ที่มีฤทธิ์ยาว
ข้อบ่งใช้
ขยายหลอดลมรักษาอาการหอบในผู้ป่วยโรคหืด
ผลข้างเคียง
อาจเพิ่มอัตราการเต้นของ หัวใจ มือสั่น ปวดศีรษะกล้าม
เนื้อเกร็ง
ข้อแนะนำการใช้ยา
ระวังในผู้ป่วยโรคหืดที่มีโรคหัวใจและหลอดเลือด
Salbutamol
ข้อบ่งใช้
บรรเทาอาการหดเกร็งของหลอดลมในโรคหอบ หืดทุกชนิด หลอดลมอักเสบชนิดเรื้อรัง และถุงโป่งพอง
การออกฤทธิ์
ยาจะกระตุ้นที่
β2-adrenocepter ในขนาดที่ β2-adrenocepter ของกล้ามเนื้อหลอดลม หากใช้ในขนาดสูง กระตุ้น β1 -adrenocepter
ของหัวใจการออกฤทธิ์เร็ว
ผลข้างเคียง
มีน้อย โดยเฉพาะยาที่ให้โดย การพ่นหรือสูดดม หากใช้รับ ประทานอาจพบอาการมือสั่น ปวดศีรษะ หัวใจเต้นเร็ว
ข้อแนะนำการใช้ยา
ดื่มน้ำ มากๆและให้ได้รับน้ำ อย่างเพียงพอเพื่อช่วยให้
เสมหะอ่อนตัวออกทางเดิน
หายใจง่าย
Theophylline
ข้อบ่งใช้
บรรเทาอาการหอบหืด
การออกฤทธิ์
ยับยั้ง Phosphodiesterase และ ช่วยสร้าง Cyclic adrenosine
monophosphate, CAMP ซึ่ง การเพิ่ม CAMP นี้จะมีผลให้
หลอดลมขยายตัว มีการกระตุ้น หัวใจ ระบบประสาท รวมทั้งทำ ให้
อยากอาหารมากขึ้น
ผลข้างเคียง
หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ กระสักระส่าย หงุดหงิด คลื่นไส้
อาเจียน ปัสสาวะคั่งค้าง ปวดศีรษะ กังวล นอนไม่หลับ
ข้อแนะนำการใช้ยา
-ห้ามหยุดยาเองโดยเด็ดขาด
-ยา Theodore ห้ามเคี้ยว
หรือบดเม็ดยาให้แตก
ยาขับเสมหะและยาระงับ อาการไอ
Acetylcysteine
ประเภท
ยาลดความหนืดข้น ของเสมหะ
ข้อบ่งใช้
รักษา Chronic emphysema, Chronic asthmatic bronchitis, Tuberculosis, Bron chiectasis, Bronchitis,
Pneumonia, Tracheobronchitis
การออกฤทธิ์
ช่วยให้เสมหะที่เหนียวเหลวขึ้น ขับพวกมูก โดยไปทำ ลาย Disulfide bond ของ Muco protein
ผลข้างเคียง
ซึม ง่วงนอน เยื่อบุปากอักเสบ น้ำมูกใสๆ ไหล คลื่นไส้ อาเจียน ผื่นลมพิษ ควรระวังในผู้ป่วยที่เป็นโรคหอบหืด
ข้อแนะนำ การใช้ยา
-สังเกตอาการข้างเคียงของยา
-หายใจลึกๆ เพื่อบริหารปอด
Ambroxol
ประเภท
ยาละลายเสมหะตัวใหม่ ซึ่งเป็น
Metaboliteตัวหนึ่งของ Brorhexine
ข้อบ่งใช้
รักษาโรคทางเดินหายใจที่มีเสมหะผิด
ปกต
การออกฤทธิ์
เพิ่มการสร้างและหลั่งSurfactant และการกระจายของ Surfactant ยัง มีผลทำ ให้ Mucus ลดความหนืดลง ทำ ให้ Cilia ถูหลกกระตุ้นทำงานได้ดีขึ้นการขับเสมหะจึงสะดวก
ผลข้างเคียง
หากให้ขนาดสูงๆอาจพบอาการคลื่นไส้
อาเจียน ปวดศีรษะ ขนาดปกติ พบอาการน้อยมากหากใช้ติดต่อ กันนานๆอาจพบอาการแน่นท้องท้องเสีย
ข้อเเนะนำการใช้ยา
-หากมีอาการผิดปกติหลังจากใช้ยาให้ไปพบแพทย์
-ไม่ควรรับประทานยานี้ร่วมกับยาลดกรด
Ammonium Chloride
ประเภท
ยาขับเสมหะ
ข้อบ่งใช้
รักษาผู้ป่วยหลอดลมอักเสบและผู้ป่วย
หลอดลมโปร่งพอง
การออกฤทธิ์
ขับเสมหะอย่างอ่อน การดูดซึมของยาจะ
เป็นไปอย่าสมบูรณ์ใน 3-6 ชั่วโมง และจะ
ถูก Metabolized ในตับเป็นHCI และ Urea จะถูกขับออกออกทางปัสสาวะ
ผลข้างเคียง
ปวดศีรษะ ซึมเศร้า ง่วงหลับ สัน
กระตุก ชีพจรช้าจังหวัการเต้นหัวใจ
ไม่สม่ำ เสมอ มีผื่นแดงที่ผิวหนัง
ข้อเเนะนำการใช้ยา
-รับประทานยานี้ทันทีหลังอาหาร
-ดื่มน้ำ มากๆเพื่อให้เสมหะเหลวขับ
ออกง่าย
Bromhexine
ประเภท
ยาลดความหนืดข้นของเสมหะ
ข้อบ่งใช้
รักษาผู้ป่วยหลอดลมอักเสบอย่าง เฉียบพลันและเรื้อรัง และผู้ป่วยที่มี
เสมหะเหนียวมากๆ
การออกฤทธิ์
ช่วยให้เสมหะที่เหนียวเหลวขึ้น ขับพวกมูก โดยไปทำ ลาย Disulfide bond ของ Muea protein ซึ่งเป็นตัวทำ ให้มูกหรือเสมหะที่ เป็นหนองเหนียวอ่อนตัวลงและขับออกได้ง่าย
ผลข้างเคียง
ซึม ง่วงนอน เยื่อบุปากอักเสบ น้ำ
มูกใสๆ ไหล คลื่นไส้ อาเจียน ผื่น ลมพิษ ควรระวังในผู้ป่วยที่เป็นโรคหอบหืด
ข้อเเนะนำในการใช้ยา
-ระมัดระวังสำหรับผู้ป่วยที่มีแผลใน
กระเพาะอาหาร
-ดื่มน้ำ มากๆ อย่างน้อย 1,500-2,000
มิลลิลิตร เพื่อให้เสมหะอ่อนตัว
Codeine
ประเภท
ยาแก้ไอชนิดเสพติด
ข้อบ่งใช้
บรรเทาอาการเจ็บปวดปาน
กลาง แก้ไอ ใช้ร่วมกับ Aspirin
หรือ Paracetamol เพื่อลด
อาการปวด
การออกฤทธิ์
กดศูนย์การไอ มีประสิทธิภาพในการระงับ อาการไอประมาณครึ่งหนึ่งของ Morphine และ ทำให้เสพติดน้อยกว่า Morphine โอกาส ติดยาน้อยกว่า เพราะขนาดที่ใช้ต่ำ และใช้เวลา สั้น กดศูนย์การโอน้อย ขนาดน้อยๆ ใช้ระงับ
อาการไอแห้งๆ ระงับอาการปวด
ผลข้างเคียง
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก มึนศีรษะ ใจสั่น
ง่วงนอน หากได้ยาเกินขนาด จะมีอาการ
ชัก เป็นลม
ข้อเเนะนำในการใช้ยา
กระตุ้นการขับเสมหะ
Dextromethorphan
ประเภท
ยาแก้ไอ ยานี้ไม่ทำ ให้เสพติดและไม่มีฤทธิ์
ระงับปวด
ข้อบ่งใช้
ระงับอาการไอเนื่องจากความเย็นหรือการ สูดดมสิ่งที่ระคายเคือง
การออกฤทธิ์
กดการไอ มีผลโดยตรงกับ ศูนย์กลางการไอที่ Medulla ยาจะ ดูดซึมได้อย่างรวดเร็ว ในระบบทาง
เดินอาหาร
ผลข้างเคียง
หากให้ขนาดสูงๆ จะมีอาการซึม มึนงง ทำ ให้ง่วง คลื่นไส้ และมึนศีรษะ
ข้อเเนะนำในการใช้ยา
ดื่มน้ำ มากๆ อย่างน้อย 1,500-2,000 มิลลิลิตร เพื่อให้เสมหะอ่อนตัวลง
Diphenhydramine
ประเภท
ยากลุ่มต้านฮีสตามีน
ข้อบ่งใช้
ระงับอาการไอที่เกิดขึ้นร่วมกับอาการคัด จมูกและจาม ซึ่งมีสาเหตุจากอาการหวัดและ แพ้ อากาศ แก้สารพิษ แก้แพ้
การออกฤทธิ์
ต้านฮีสตามีนร่วมกับยาต้าน Cholinergic ปิด กั้นฮีสตามีนตรงตำแหน่ง H1 receptor จึงช่วยลดอาการบวม ลดการหด เกร็งตัวของระบบหายใจ ทางเดินอาหาร ลด การอาเจียน เป็นยานอนหลับ ระงับอาการไอ
ผลข้างเคียง
ทำ ให้ง่วงนอน มันซึม ปวดศีรษะ ปาก แห้ง ท้องผูก เวียนศีรษะ อ่อนเพลีย ใจ
สั่น ชีพจรเร็ว
ข้อเเนะนำในการใช้ยา
-ควรรับประทานก่อนเดินทาง 30 นาที
เพื่อป้องกันการเมารถ
-หากได้รับยานี้นานๆ ควรได้รับการ
ตรวจนับเม็ดเลือดเป็นระยะๆ
-ดื่มน้ำ มากๆ (หากไม่มีข้อห้าม)
เนื่องจากยานี้ทำ ให้คอแห้ง
Glyceryl guaiacolate/ Guaifenesin
ประเภท
ยาแก้ไอ ยาละลายเสมหะ
ข้อบ่งใช้
บรรเทาอาการไอเนื่องจากหวัด หลอดลม อักเสบ และการติดเชื้อที่ปอด
การออกฤทธิ์
ลดความหนืดของเสมหะ ช่วยทำให้ เสมหะเหลวลง โดยเพิ่มความชุ่มชื้นใน ทางเดินหายใจ ขับออกได้ง่ายด้วยการ
ไอออกมา
ผลข้างเคียง
พบน้อย คลื่นไส้ อาเจียน มึนงง ปวด ศีรษะ ผื่นแพ้ ท้องเสีย ปวดท้อง
ข้อเเนะนำในการใช้ยา
ดื่มน้ำ มากๆ หลังรับประทานยา และดื่ม ไม่น้อยกว่า 1,500-2,000 มิลลิลิตร
ต่อวัน
ยารักษาโรคปอด TIOTROPIUM
กลุ่มยา:ยากลุ่มแอนติโคลิเนอร์จิก
(Anticholinergic)
ประเภทยา:ยาตามใบสั่งแพทย์
สรรพคุณ:รักษาโรคหืด โรคปอดอุด
กันเรื้อรัง และโรคปอดอื่น ๆ
กลุ่มผู้ป่วย:ผู้ใหญ่
รูปแบบของยา:ยาสูดพ่น
การใช้ยา Tiotropium
•ใช้ยาตามฉลากและตามคำสั่งแพทย์อย่างเคร่งครัด ห้ามใช้ยานี้ในปริมาณมากกว่า น้อยกว่า หรือติดต่อกันนานกว่าที่แพทย์แนะนำ
ควรใช้ยาอย่างต่อเนื่องและใช้ในเวลาเดียวกันของทุกวัน เพื่อให้
ได้ประโยชน์จากยมากที่สุด
หากใช้ยาแล้วอาการไม่ดีขึ้นหรือแย่ลง ควรแจ้งให้แพทย์ทราบ
ทันที
ปริมาณการใช้ยาTiotropium
ปริมาณและระยะเวลาในการใช้ยาขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของแพทย์ผู้รักษา
ผู้ใหญ่หากใช้เครื่องสูดพ่นยาชนิดผงให้ใช้ครั้งละ1แคปซูลหรือปริมาณ18ไมโครกรัมวันละ1ครั้ง
ผลข้างเคียงจากการใช้ยา Tiotropium
ปากแห้ง เวียนศีรษะ มองเห็นเป็นภาพเบลอ ท้องผูก เจ็บขณะปัสสาวะ ท้องไส้ปั่นป่วน เจ็บหน้าอก หัวใจเต้น เร็ว และมีอาการหวัดอย่างมีน้ำ มูกไหลหรือเจ็บคอ
คำ เตือนในการใช้ยา Tiotropium
แจ้งให้แพทย์ทราบ หากมีประวัติแพ้ยาหรือส่วนประกอบของยา Tiotropium
แจ้งให้แพทย์ทราบขณะใช้ยา หากผู้ป่วยต้องเข้ารับการผ่าตัด
หรือทันตกรรมใด ๆ
ไม่อนุญาตให้ใช้ยา Tiotropiu
m ในเด็กที่มีอายุต่ำ กว่า 6 ปี
ISONIAZID
ประเภทยา:ยาตามใบสั่งแพทย์
สรรพคุณ:รักษาวัณโรค
กลุ่มผู้ป่วย:ผู้ใหญ่ เด็ก
รูปแบบของยา:ยาฉีด ยารับประทาน
การใช้ยา Isoniazid
รับประทานยาในขณะที่ท้องว่างอย่างน้อย
1ชั่วโมง ก่อน
อาหาร หรือ 2
ชั่วโมงหลังอาหาร
ห้ามให้ผู้อื่นใช้ยานี้ และห้าม
ใช้ยาของผู้อื่น
ระหว่างที่ใช้ยานี้ ผู้ป่วยอาจต้องรับประทานวิตามิน บี 6
เสริมตามที่แพทย์สั่ง
ปริมาณการใช้ยา Isoniazid
ปริมาณและระยะเวลาในการใช้ยาขึ้นอยู่กับลักษณะ การติดเชื้อและดุลยพินิจของแพทย์ผู้รักษา โดยมีตัวอย่างการใช้ยา
คำเตือนในการใช้ยา Isoniazid
หลีกเลี่ยงการใช้ยา Isoniazid หากกำ ลังป่วยเป็นโรคตับ มีประวัติแพ้ยา ชนิดนี้อย่างรุนแรง
ผลข้างเคียงจากการใช้ยา Isoniazid
ปวดท้องส่วนบน เบื่ออาหาร คลื่นไส้ รู้สึกไม่สบายหรืออ่อนเพลียกะทันหัน มีไข้ติดต่อกัน 3 วัน ขึ้นไป ปัสสาวะสีเข้ม อุจจาระสีซีด ดีซ่าน
กลุ่มยา:ยารักษาวัณโรค
Rifampicin
ประเภทยา:ยาตามใบสั่งแพทย์
สรรพคุณ
:ป้องกันหรือรักษาวัณโรครักษาโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบในระยะยังไม่แสดงอาการ
กลุ่มผู้ป่วย:เด็ก ผู้ใหญ่
รูปแบบของยา:รับประทานฉีดเข้า
เส้นเลือด
การใช้ยา Rifampicin
•รักษาวัณโรค
ปริมาณการใช้ยาRifampicin
ยารับประทาน
ผู้ที่มีน้ำ หนักน้อยกว่า 50 กิโลกรัมรับประทานวันละ1ครั้ง ครั้งละ 600
มิลลิก
รัมยาฉีดเข้าเส้นเลือด
ฉีดยาวันละ 1 ครั้ง ครั้งละ 10มิลลิกรัม ต่อน้ำ หนักตัว
1 กิโลกรัม ปริมาณสูงสุดไม่เกิน 600 มิลลิกรัมต่อวัน
คำเตือนในการใช้ยาRifampicin
• หากเคยมีประวัติ
แพ้ไรแฟมพิซิน ยา อาหาร หรือ
สารชนิดอื่น ๆ ควรแจ้งให้แพทย์ทราบก่อนใช้ยา
ผลข้างเคียงจากการใช้ยาRifampicin
•มีอาการแพ้ เช่น หายใจลำ บาก
เป็นลมพิษ ใบหน้า
คอ ริมฝีปาก ห
รือลินบวมใน
• มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เช่น มีไข้ หนาวสั่น ปวดตามร่างกาย ปวดศรีษะ รู้สึกมึนงง
กลุ่มยา:ยาปฏิชีวนะ
PYRAZINAMIDE
กลุ่มยา:ยาต้านวัณโรค
ประเภทยา:ยาตามใบสั่งแพทย์
สรรพคุณ:รักษาวัณโรค
กลุ่มผู้ป่วย:ผู้ใหญ่ เด็ก
รูปแบบของยา: ยารับประทาน
การใช้ยาPyrazinamide
•ใช้ยาตามฉลากและตามคำ สั่งแพทย์อย่างเคร่งครัด หากมีข้อสงสัยควรสอบถามแพทย์หรือเภสัชกรก่อนใช้
•สามารถรับประทานยา Pyrazinamide พร้อมอาหาร
ปริมาณการใช้ยาPyrazinamide
ผู้ใหญ่ ทำการรักษาปกติเป็นเวลา 2 เดือน น้ำหนักน้อยกว่า 50 กิโลกรัม รับประทานยาปริมาณ1.5 กรัม/วัน
เด็ก ทำการรักษาปกติเป็นเวลา 2 เดือนรับประทานยาปริมาณ 35/มิลลิกรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม
ผลข้างเคียงจากการใช้ยา Pyrazinamide
ปวดข้อหรือข้อบวม ไม่อยากอาหาร อาเจียน อ่อนเพลีย
คำเตือนในการใช้ยาPyrazinamide
แจ้งให้แพทย์ทราบก่อนใช้ยาหากมีประวัติเป็นโรคเก๊าท์โรคตับโรคไตโรคเบาหวาน มีระดับกรดยูริกในเลือดสูง
ETHAMBUTOL
กลุ่มยา:ยารักษาวัณโรค
ประเภทยา:ยาตามใบสั่งแพทย์
สรรพคุณ:รักษาวัณโรคปอด และ
วัณโรคนอกปอด
กลุ่มผู้ป่วย:เด็ก และผู้ใหญ
รูปแบบของยา:ยารับประทาน
การใช้ยาEthambutol
•หากลืมใช้ยาตามเวลาที่กำหนด ให้ใช้ยาทันทีที่นึกขึ้นได้ รอบถัดไปให้กินเพิ่มปริมาณเป็น2 เท่า
•เเจ้งให้เเพทย์ทราบหากอาการไม่ดีขึ้นหรือเเย่ลง
ปริมาณการใช้ยาEthambutol
ผู้ใหญ่ รับประทานยาปริมาณ 15-25 มิลลิกรัม/น้ำ หนักตัว 1 กิโลกรัมวันละ 1 ครั้ง
เด็ก
รับประทานยาปริมาณ 15-20 มิลลิกรัม/น้ำหนักตัว
ผลข้างเคียงจากการใช้ยา Ethambutol
ปวดข้อหรือข้อบวม
คำเตือนในการใช้ยาEthambutol
•แจ้งให้แพทย์ พยาบาล
เภสัชกรและทันตแพทย์ก่อนเข้ารับการรักษาใดๆ
ยาต้านฮีสตามีน
(ANTIHISTAMINES)
ใช้รักษาอาการ
ลมพิษ
ผื่นแดง คัน
ชนิดของยาต้านฮีสตามีน
ยาต้านฮีสตามีนชนิดง่วงซึม เช่น ยาคลอร์เฟ
นิรามีน (Chlorpheniramine)
ยาต้านฮิสตามินชนิดไม่ง่วง เช่น ยาลอราทาดีน (Loratadine
ยาแก้คัดจมูก
(NASAL DECONGESTANT)
ข้อบ่งชี้
บรรเทาอาการคัดจมูกอันเนื่องจากโรคหวัด โรคภูมิเเพ้ ไซนัสอักเสบ
ภูมิแพ้ โรคไซนัสอักเสบ
มีข้อห้ามการใช้ยาแก้คัดจมูก
•ห้ามใช้ในผู้ที่แพ้ยานั้นๆหรือแพ้ยาอื่นๆ ที่มีผลกระตุ้นระบบประสาอัตโนมัติ
(Sympathomi metic drugs)
อาการไม่พึงประสงค์จาก
การใช้ยาแก้คัดจมูก
•ผลต่อระบบประสาท: เช่น ปวดศีรษะ กระสับ
กระส่าย วิตกกังวล มือสั่น นอนไม่หลับ
•ผลต่อหัวใจ: เช่น หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ
•ผลต่ออวัยวะตา: เช่น โรคต้อหิน
•ผลต่อระบบทางเดินปัสสาวะ: เช่น ปัสสาวะไม่ออก/ปัสสาวะขัด
•ผลต่อทางเดินอาหาร เช่น คลื่นไส้ อาเจียน
ยาขับเสมหะ
(EXPECTORANTS
กลไกการออกฤทธิ์
ของยาขับเสมหะ
กลุ่มยาขับเสมหะนี้จะไป ช่วยกระตุ้นให้มีการพัดโบกและขน
ยาขับเสมหะในประเทศไทย
1.แอมโมเนียม คลอไรด์ (Ammonium Chloride)
2.กัวฟีนีซีน (Guafenesin)
3.เทอร์พีน ไฮเดรต (Terpin hydrate)
กลไกการออกฤทธิ์
ของยาละลายเสมหะ
อะเซทิลซิสเทอีน (Acetylcystein) Carbocysteine) มีกลไกการออก และ คาร์โบซิสเทอีน
ประเภทของยาละลายเสมหะ
ยาน้ำละลายเสมหะ
เม็ดฟู่ละลายเสมหะ
ยาพ่นละลายเสมหะ
ยาสมุนไพรละลายเสมหะ
ผลข้างเคียงของ
ยาละลายเสมหะ
•ปวด หรือเวียนศีรษะ
•ควรระวังการใช้เป็นพิเศษในผู้ที่มี
ประวัติมีแผลในกระเพาะอาหาร
•ควรระวังการใช้ในเด็กสำหรับยาทุกตัวในกลุ่มนี้
กลไกการออกฤทธิ์
ของยาละลายเสมหะ
•ยาชนิดนี้อาจทำงานโดยการยับยั้งการทำงานของสมองกระตุ้นจนทำให้เกิดการไอ
วิธีการใช้ยา
•ก่อนใช้ยา ผู้ป่วยต้องแจ้งให้แพทย์
ผลข้างเคียงของยา
•คลื่นไส้ อาเจียน
•ปวดหัว กระสับกระส่าย
•เวียนหัว ง่วงซึม
•ท้องผูก ท้องไส้ปั่นป่วน