Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลที่มี ความผิดปกติด้านพฤติกรรม - Coggle Diagram
การพยาบาลบุคคลที่มี
ความผิดปกติด้านพฤติกรรม
การพยาบาลบุคคลที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว
พฤติกรรมก้าวร้าว
เป็นผลต่อเนื่องจากความโกรธที่บุคคลนั้นไม่สามารถจัดการกับความโกรธได้
แสดงพฤติกรรมออกมาทางร่างกายหรือทางด้าน ความคิด
เสี่ยงต่อการทำร้ายผู้อื่น
พฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง (Violence)
การใช้กำลังทางกายภาพ โดยตั้งใจต่อตนเองหรือผู้อื่น ซึ่งโดยส่วนใหญ่มักก่อให้เกิดการบาดเจ็บหรือเสียชีวิต
การเกิดพฤติกรรมก้าวร้าวรนุแรง
พฤติกรรมก้าวร้าว
ไม่ได้รับการตอบสนองที่ดี
แสดงออกด้วยการมุ่งทำร้ายหรือทำลายโดยตรงเป็นอันตรายต่อทรัพย์สินและผู้อื่น
สัญญาณเตือนพฤติกรรมรุนแรง
การแสดงออกทางสีหน้า
บึ้งตึงโกรธท่าทางไม่พอใจ แววตาไม่เป็นมิตร กัดกรามแน่นดวงตาเปิดกว้างและแข็งกร้าวท่าทางเครียดไม่ผ่อนคลาย
การเคลอื่นไหวและการกระทำ
กระวนกระวายอยู่ไม่นิ่งเดินไปเดินมา ตัวเกร็ง กำมือแน่น กำมัด กระแทกหรือกระทำด้วยความรุนแรง
การแสดงออกทางคำพูด
โต้ตอบด้วยน้ำเสียงห้วนๆ
พูดก้าวร้าวด่าคำหยาบ ตำหนิติเตียนพูดในแง่ร้าย สาปแช่ง
มีประวัติการใช้สารเสพติด
มีประวัติพฤติกรรมรุนแรงจากญาติหรือผู้นำส่ง
ลักษณะการแสดงออกพฤติกรรมรุนแรง
ทางคำพดู
ส่งเสียดังตะโกนด้วย ความโกรธว่ากล่าว
ต่อร่างกายผู้อื่น หยิกข่วน ชก ตบ ตี ทำร้ายร่างกายผู้อื่น
ต่อสิ่งของ /ทรัพย์สิน
เขย่าประตู ฉีกเสื้อผ้า ปัดสิ่งของลงจากโต๊ะ ทุบทำทายเผาสิ่งของ
ต่อร่างกายตนเอง
หยิกข่วนชกตีตัวเองกระแทก ลกตัวหรือกับศีรษะ ผนังห้อง
การพยาบาลผู้ป่วยพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง
ก่อนเกิดเหตกุารณ์
1.จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อความปลอดภัย
2.ประเมินสความเสี่ยง
3.ป้องกันพฤติรบกวน
4.ฝึกอบรมเพื่อเตรียมความพร้อม
ขณะเกิดเหตุการณ์
1.สื่อสารเรียกสติ เพื่อหยุดพฤติกรรม
2.จำกัดพฤติกรรม
3.การให้ยา
หลังเกิดเหตุการณ์
1.ทบทวนร่วมกับผู้ป่วยและครอบครัว
2.ทบทวนแกเไขปัญหาในหน่วยงาน
3.ทบทวนกระบวนการทางคลินิกของหน่วยงาน
การพยาบาล
1.อย่าอยู่กับผู้ป่วยตามลำพัง
2.ไม่โต้เถียง หรือพยายามหยุดพฤติกรรมของผู้ป่วยด้วยตนเอง
3.แยกผู้ออกจากสถานการณ์อื่น
4.พูดคุยกับผู้ป่วย ไม่โต้เถียง หลีกเลี่ยงการตอบรับหรือปฏิเสธ
5.พิจารณาใช้ยาฉีดตามแผนการรักษา
6.พิจารณาจำกัดพฤติกรรมผู้ป่วย:การผูกยึด
การสื่อสารสนทนากับผู้ป่วย
1.ท่าทางที่เป็นมิตร จริงใจให้เกียรติยิมรับ พฤติกรรมของผู้ป่วย
2.น้ำเสียงนุ่มนวลมั่นคง ชัดเจน ไม่โต้เถียง หลีกเลี่ยงการตอบรับ หรือปฏิเสธ เรียกชื่อผู้ป่วยถูกต้อง
3.ให้ผู้ป่วยระบายความคิด คสามรู้สึกโดยการพูด พร้อมรับฟังอย่างใส่ใจ อาจสะท้อนความรู้สึกได้ตามความเหมาะสม