Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินหายใจ
ยารักษาโรคปอด
Tiotropium
กลุ่มยา : ยากลุ่มแอนติโคลิเนอร์จิก
ประเภทยา : ยาตามใบสั่งแพทย์
สรรพคุณ : รักษาโรคหืด โรคปอดอุดกันเรื้อรัง
กลุ่มผู้ป่วย : ผู้ใหญ่
รูปแบบยา : ยาสูดพ่น
การใช้ยา : ใช้ยาตามฉลากและแพทย์สั่งอย่างเคร่งครัด
ปริมาณการใช้ยา : ตามดุลยพินิจของแพทย์ผู้รักษา ผู้ใหญ่ใช้ครั้งล่ะ 1แคปซูล วันละ 1ครั้ง
ผลข้างเคียงจากการใช้ยา : ปากแห้ง เวียนศีรษะ
คำเตือน : แจ้งให้แพทย์ทราบหากแพ้ยา เด็กที่มีอายุต่ำกว่า 6ปี ไม่อนุญาตให้ใช้ยา
Isoniazid
กลุ่มยา : ยารักษาวัณโรค
ประเภทยา : ยาตามใบสั่งแพทย์
สรรพคุณ : รักษาวัณโรค
กลุ่มผู้ป่วย : ผู้ใหญ่ และเด็ก
รูปแบบยา : ยาฉีด และยารับประทาน
การใช้ยา : รับประทานยาขณะท้องว่าง อย่างน้อย 1ชม. ก่อนอาหาร หรือหลังอาหาร 2ชม.
ปริมาณการใช้ยา : ใช้ยาขึ้นอยู่กับลักษณะการติดเชื้อและดุลยพินิจของแพทย์
คำเตือน : หลีกเลี่ยงการใช้ยา หากป่วยเป็นโรคตับ มีประวัติแพ้ยารุนแรง
ผลข้างเคียงจากการใช้ยา: ปวดท้องส่วนบน เบื่ออาหาร
Rifampicin
กลุ่มยา : ยาปฏิชีวนะ
ประเภทยา : ยาตามใบสั่งแพทย์
สรรพคุณ : ป้องกันหรือรักษาวัณโรค
กลุ่มผู้ป่วย : เด็ก และผู้ใหญ่
รูปแบบยา : รับประทานฉีดเข้าเส้นเลือด
การใช้ยา : รักษาวัณโรค
ปริมาณการใช้ยา : ผู้ที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 50 กิโลกรัม รับประทานวันละ1ครั้ง ครั้งละ450มิลลิกรัม น้ำหนัก 50กิโลกรัมขึ้นไป รับประทานวันละ1ครั้ง 600มิลลิกรัม ยาฉีดวันละ 1ครั้ง ครั้งละ10 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1กิโลกรัม
คำเตือน : หากเคยมีประวัติแพ้ยา ควรแจ้งแพทย์ทราบก่อนใช้ยา
ผลข้างเคียง : มีอาการแพ้ เช่นหายใจลำบาก มีเลือดออกตามไรฟัน มีอาการคล้ายหวัดใหญ่
Pyrazinamide
กลุ่มยา : ยาต้านวัณโรค
ประเภทยา : ยาตามใบสั่งแพทย์
สรรพคุณ : รักษาวัณโรค
กลุ่มผู้ป่วย : ผู้ใหญ่ เด็ก
รูปแบบยา : ยารักประทาน
การใช้ยา : ใช้ตามคำสั่งแพทย์อย่างเคร่งครัด
ปริมาณการใช้ยา : ผู้ใหญ่•น้ําหนักตัวน้อยกว่า 50 กิโลกรัม รับประทานยาปริมาณ 1.5 กรัม/วัน
•น้ําหนักตัว 50 กิโลกรัมข้ึนไป รับประทานยา 2 กรัม/วัน
ผลข้างเคียง : ปวดข้อ ตับผิดปกติ ทำให้ไม่อยากอาหาร อาเจียน อ่อนเพลีย
คำเตือน : หากมีประวัติเป็นโรคเก๊าท์ควรแจ้งให้แพทย์ทราบ
Ethambutol
กลุ่มยา : ยารักษาวัณโรค
ประเภทยา : ยาตามใบสั่งแพทย์
สรรพคุณ : รักษาวัณโรคปอด และวัณโรคนอกปอด
กลุ่มผู้ป่วย : เด็ก และผู้ใหญ่
รูปแบบยา : ยารับประทาน
การใช้ยา : หากลืมใช้ยา ให้ใช้ยาทันที และห้ามใช้ยาเป็น 2เท่า หากไม่ดีขึ้นควรแจ้งแพทย์
ปริมาณการใช้ยา : ผู้ใหญ่รับประทานยาปริมาณ 15-25 มิลลิกรัม/น้ําหนักตัว 1 กิโลกรัมวันละ 1 ครั้ง หรือ 25-30 มิลลิกรัม/น้ําหนักตัว 1 กิโลกรัม สัปดาห์ละ 3 ครั้ง เด็กปริมาณ 15-20 มิลลิกรัม/น้ําหนักตัว 1 กิโลกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลา 60 วัน หลังจากนั้น ให้รับประทานยาปริมาณ 15 มิลลิกรัม/น้ําหนักตัว 1 กิโลกรัม
ผลข้างเคียง : ปวดข้อ ตับผิดปกติ ทำให้ไม่อยากอาหาร ปัสสาวะมีสีเข้ม
คำเตือน : แจ้งให้แพทย์ ทราบว่ากำลังใช้ยานี้ก่อนเข้ารับการรักษาใดๆ
ยาบรรเทาอาการหวัด
ยาต้านฮีสตามีน (ANTIHISTAMINES)
ใช้รักษาอาการ : ผื่นแดง คัน ลมพิษ อาการบวมตามผิวหนัง
ชนิดของยาต้านฮีสตามีน : ยาต้านฮีสตามีนชนิดง่วงซึม ยาคลอร์เฟนิรามีน (Chlorpheniramine) ยาไดเฟนไฮดรามีน (Diphenhydramine) ยาไดเมนไฮดริเนต (Dimenhydrinate) ยาไฮดรอไซซีน (Hydroxyzine) ยาบรอมเฟนิรามีน (Brompheniramine) ยาต้านฮิสตามินชนิดไม่ง่วง ยาเซทิริซีน (Cetirizine) ยาเลโวเซทิริซีน (Levocetirizine) ยาลอราทาดีน (Loratadine) ยาเดสลอราทาดีน (Desloratadine)
ยาเฟกโซเฟนาดีน (Fexofenadine)
วิธีใช้ยา : อ่านฉลากก่อนใช้ยา เพราะยาแก้แพ้มีหลายชนิด หากมีข้อสงสัยควรถามแพทย์
ยาแก้คัดจมูก (NASAL DECONGESTANT)
ข้อบ่งชี้ : บรรเทาอาการคัดจมูก เนื่องจากโรคหวัด ภูมิแพ้ โรคไซนัสอักเสบ
มีข้อห้ามการใช้ยาแก้คัดจมูก : ห้ามใช้ผู้ที่แพ้ยา ใช้ยาอย่างเคร่งครัด ห้ามใช้ยาแก้คัดจมูกมากกว่า 1ชนิด
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาแก้คัดจมูก
ผลต่อระบบประสาท : ปวดศีรษะ วิตกกังวล มือสั่น
ผลต่อหัวใจ : หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ
ผลต่ออวัยวะตา : โรคต้อหิน
ผลต่อระบบทางเดินปัสสาวะ : ปัสสาวะขัด
ผลต่อระบบทางเดินอาหาร : คลื่นไส้ อาเจียน
ยาขับเสมหะ (EXPECTORANTS)
กลไกการออกฤทธิ์ของยาขับเสมหะ : ช่วยกระตุ้นการพัดโบกของขน(celia) ในทางเดินหายใจ เพื่อช่วยให้ไอและขับเอามูกออกมาได้
ยาขับเสมหะในประเทศไทย
แอมโมเนียม คลอไรด์ (Ammonium Chloride)
กัวฟีนีซีน (Guafenesin หรือ Glycerol Guaicolate)
เทอร์พีน ไฮเดรต (Terpin hydrate)
ผลข้างเคียงของยา : เวียนศีรษะ ง่วง หากแพ้ยาจะหายใจไม่ออก
ยาละลายเสมหะ (Mucolytics)
กลไกการออกฤทธิ ์ของยาละลายเสมหะ
อะเซทิลซิสเทอีน (Acetylcysteine) และ คาร์โบซิสเทอีน (Carbocysteine) มีกลไกการออก ฤทธิ์ คือ การไปทําให้การเกาะกันของ พันธะไดซัลไฟด์ ของเสมหะลดลง เสมหะจึงมีความข้นเหนียวลดลง
ประเภทของยาละลายเสมหะ : ยาน้ำ เม็ดฟู่ ยาพ่น และยาสมุนไพร
ผลข้างเคียง : ปวดหัว เวียนศีรษะ คลื่นไส้ควรระวังการใช้ในเด็กสําหรับยา ทุกตัวในกลุ่มนี้
ยาระงับอาการไอ (Antitussives)
กลไกการออกฤทธิ ์ของยาละลายเสมหะ : ยาชนิดนี้อาจทํางานโดยการ ยับยัง้ การทํางานของสมอง ส่วนที่ตอบสนองต่อสิ่ง กระตุ้นจนทําให้เกิดการไอ แต่กลไกที่แท้จริงในการออกฤทธิ์ของยากลุ่มนี้ยังไม่เป็นที่แน่ชัด
วิธีการใช้ยา : ก่อนใช้ยา ผู้ป่วยต้องแจ้งให้แพทย์ทราบก่อนเสมอหากเคยแพ้ยา
ผลข้างเคียง : คลื่นไส้ อาเจียน ปวดหัว
ยารักษาโรคหอบหืด (Antiasthmatic drugs)
ประเภทยาขยายหลอดลม
Adrenaline
( Epinephrine)
ข้อบ่งใช้ : รักษาความผิดปกติของการหายใจ
การออกฤทธิ์ : กระต้นุ ตัวรับ α และ β-adrenergic ภายในระบบประสาทซิมพาเธติค ใช้รักษาภาวะหดเกร็ง ของหลอดลมและการแพ้ยาชนิดเดียวกันAnaphylaxis
ผลข้างเคียง : หากรับยาเป็นเวลานานๆ จะทำให้เกิดความดันโลหิตสูง ชีพจรเต้นเร็ว
ข้อแนะนำ : รายงานแพทย์เมื่อหัวใจเต้นผิดจังหวะ
Aminophylline
ข้อบ่งใช้ : บรรเทาอาการหอบหืด
การออกฤทธิ์ : ขยายหลอดลม เพิ่มการบีบตัวของหัวใจ หลอดเลือดขยายตัวมีฤทธิ์ในการขับปั สสาวะ
ผลข้างเคียง : ความดันโลหิตต่ำ ใจสั่น หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ
ข้อแนะนำการใช้ยา : รับประทานยาให้ครบห้ามหยุดยา รับประทานยาหลังอาหาร
Bambuterol
ข้อบ่งใช้ : รักษาผู้ป่วยโรคหืด
การออกฤทธิ์ :β2-adrenergic agonist ที่มีฤทธิ์ยาว
ผลข้างเคียง : เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ
Fenoterol
ข้อบ่งใช้ : ป้องกันการเกิดอาการหอบหืด
การออกฤทธิ์ :β2-adrenergic agonist
ผลข้างเคียง : กระสับกระส่าย มึนงง
ข้อแนะนำการใช้ยา :พ่นยาตามแผนการรักษาหาก พน่ 2 Puff ให้พ่นห่างกัน 1 นาที หรือพ่นให้ห่างจากยาอื่น 5 นาที
Ipratropium
การออกฤทธิ์ : ยาประกอบด้วยIpratropium bromide ซึ่งเป็น ยาประเภท Anticholinergic ออกฤทธิ์ลดการเกร็งของหลอดลม และ Fenoterol hydrochloride ซ ึ่งเป็นยาβ2-adrenergicออก ฤทธิ์ขยายหลอดลม
ผลข้างเคียง : กล้ามเนื้อสั่น กระสับกระส่าย
ข้อบ่งใช้: รักษาผู้ป่วยChronicbronchitis และ Emphysema
ข้อแนะนำ : เหมาะที่จะใช้ในผู้ป่วยที่มีหลอดลมตีบเฉียบพลัน
Procaterol
ข้อบ่งใช้ : ขยายหลอดลม รักษาอาการหอบในผู้ป่วยโรคหอบ
การออกฤทธิ์ :β2-adrenergic agonist ที่มีฤทธิ์ยาว
ผลข้างเคียง : เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ มือสั่น เกร็ง
ข้อแนะนำ : ระวังในผู้ป่วยที่มีโรคหัวใจและหลอดเลือด
Salbutamol
ข้อบ่งใช้ : บรรเทาอาการหดเกร็งของหลอดลมในโรคหอบหืดทักชนิด
การออกฤทธิ์ : β2-adrenocepter ของกล้ามเนื้อหลอดลม หากใช้ในขนาดสูง
ผลข้างเคียง : มีน้อยโดยเฉพาะยาที่ให้โดยการพ่นหรือสูดดม
ข้อแนะนำ : ดื่มน้ำมากๆและให้ได้รับอย่างเพียงพอ
Theophylline
ข้อบ่งใช้ : บรรเทาอาการหอบหืด
การออกฤทธิ์ : ยับยั้งPhosphodiesteraseและ
ช่วยสร้าง Cyclic adrenosine monophosphate,CAMP ซึ่งการเพิ่ม CAMP นี้จะมีผลให้หลอดลมขยายตัว มีการกระตุ้นหัวใจระบบประสาท
ผลข้างเคียง : หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ กระสับกระส่าย
ข้อแนะนำ : ห้ามหยุดยาเองโดยเด็ดขาด
ยาขับเสมหะ และยาระงับ อาการไอ
Acetylcysteine
ประเภท : ยาลดความหนืดข้นของเสมหะ
ข้อบ่งใช้ : รักษาChronicemphysema,Chronic asthmatic bronchitis, Tuberculosis, Bron chiectasis, Bronchitis, Pneumonia, Tracheobronchitis
ออกฤทธิ์ : ช่วยให้เสมหะที่เหนียวเหลวขึ้น
ผลข้างเคียง : ซึม ง่วงนอน เยื่อบุปากอักเสบ
ข้อแนะนำการใช้ยา : สังเกตอาการข้างเคียง
Ambroxol
ประเภท : ยาขับเสมหะตัวใหม่
ข้อบ่งใช้ : รักษาโรคทางเดินหายใจที่มีเสมหะผิดปกติ
การออกฤทธิ์ : เพิ่มการสร้างและหลั่งSurfactant และการกระจายของ Surfactant ยังมีผลทำให้Mucusลดความหนืดลง
ผลข้างเคียง : หากให้ขนาดสูงๆ อาจพบอาการคลื่นไส้
ข้อแนะนำ : หากมีอาการผิดปกตหลังจากใช้ยาให้ไปพบแพทย์
Ammonium Chloride
ประเภท : ยาขับเสมหะ
ข้อบ่งใช้ : รักษาผู้ป่วยหลอดลมอักเสบและผู้ป่วยหลอดลมโปร่งพอง
การออกฤทธิ์ : ขับเสมหะอ่อน การดูดซึมของยาจะเป็นไปอย่างสมบูรณ์ใน 3-6 ชม.
ผลข้างเคียง : ปวดศีรษะ ซึมเศร้า ง่วงหลับ
ข้อแนะนำ : รับประทานยานี้ทันทีหลังอาหาร
Bromhexine
ประเภท : ยาลดความหนืดข้นของเสมหะ
ข้อบ่งใช้ : รักษาผู้ป่วยโรคหลอดลมอักเสบเฉียบพลันและเรื้อรัง
การออกฤทธิ์ : ช่วยให้เสมหะที่เหนียวเหลวขึ้น ขับพวกมูกไปทำลายDisulfide bond
ผลข้างเคียง : ซึม ง่วงนอน เยื่อบุปากอักเสบ
ข้อแนะนำ : ระมัดระวังสำหรับผู้ป่วยมีแผลในกระเพาะอาหาร ดื่มน้ำมากๆ
Codeine
ประเภท : ยาแก้ไอชนิดเสพติด
ข้อบ่งใช้ : บรรเทาอาการเจ็บปวดปานกลาง
การออกฤทธิ์ : ระงับอาการไอประมาณครึ่งหนึ่งของMorphine และทำให้เสพติดน้อยกว่าMorphine
ผลข้างเคียง : คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก
ข้อแนะนำ : กระตุ้นการขับเสมหะ
Dextromethorphan
ประเภท : ยาแก้ไอ ยานี้ไม่ทำให้เสพติด
ข้อบ่งใช้ : ระงับ อาการไอเนื่องจากความเย็น
การออกฤทธิ์ : กดการไอ มีผลโดยตรงกับศูนย์กลางการไอที่ Medulla ดูดซึมอย่างรวดเร็ว
ผลข้างเคียง : หากให้ขนาดสูงๆ มีอาการซึม มึนงง
ข้อแนะนำ : ดื่มน้ำมากๆ เพื่อให้เสมหะอ่อนตัวลง
Diphenhydramine
ประเภท : ยาต้านฮีสตามีน
ข้อบ่งใช้ : ระงับอาการไอที่เกิดร่วมกับอาการคัดจมูกและจาม
การออกฤทธิ์ : ต้านฮีสตามีนร่วมกับยาต้านCholinergic ปิดกั้นฮีสตามีนตรงตำแหน่ง
ผลข้างเคียง : ทำให้ง่วงนอน ซึม ปวดศีรษะ
ข้อแนะนำ : ควรรับประทานก่อนเดินทาง 30นาที เพื่อป้องกันการเมารถ
Glyceryl guaiacolate/ Guaifenesin
ประเภท : ยาแก้ไอ ยาละลายเสมหะ
ข้อบ่งใช้ : บรรเทาอาการไอเนื่องจากหวัด หลอดลมอักเสบ
การออกฤทธิ์ : ลดความหนืดของเสมหะ ช่วยทำให้เสมหะเหลวลง
ผลข้างเคียง : พบน้อย คลื่นไส้ อาเจียน มึนงง
ข้อแนะนำ : ดื่มน้ำมากๆ หลังรับประทานยา