Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อ ระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อ ระบบทางเดินหายใจ
ยารักษาโรคปอด
ISONIAZID (ไอโซไนอาซิด)
ISONIAZID (ไอโซไนอาซิด) การใช้ยา Isoniazid รับประทานยาในขณะท่ีท้องว่าง อย่างน้อย 1 ชั่วโมง ก่อน อาหาร หรือ 2 ชั่วโมง หลังอาหาร ห้ามให้อื่นใช้ยานี้ และห้ามใช้ยาของผู้อื่น ระหว่างท่ีใชเช้ายานี้ ผู้ป่วยอาจต้องรับประทานวิตามิน บี 6 เสริมตามที่เเพทย์สั่ง
ปริมาณการใช้ยา Isoniazid ปริมาณและระยะเวลาในการใช้ยาข้ึนอยู่กับลักษณะ การติดเชื้อและดุลยพินิจของแพทย์ผู้รักษา โดยมีตัวอย่างการใช้ยา
คําเตือนในการใช้ยา Isoniazid หลีกเลี่ยงการใช้ยา Isoniazid หากกําลังป่วยเป็นโรคตับ มีประวัติแพ้ยา ชนิดนี้อย่างรุนแรง เคยเป็นโรคตับอักเสบหรือตับผิดปกติจากการใช้ยานี้ หรือมีประวัติเกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยานี้ เช่น มีไข้ หนาวสั่น ปวดข้อ ข้อบวม
ผลข้างเคียงจากการใช้ยา Isoniazid ปวดท้องส่วนบน เบื่ออาหาร คลื่นไส้ รู้สึกไม่สบายหรืออ่อนเพลียกะทันหัน มีไข้ติดต่อกัน 3 วัน ข้ึนไป ปัสสาวะสีเข้ม อุจจาระสีซีด ดีซ่าน
Rifampicin (ไรแฟมพิซิน)
Rifampicin (ไรแฟมพิซิน) การใช้ยา Rifampicin รักษาวัญโรค
ปริมาณการใช้ยาRifampicin ยารับประทาน ผู้ท่ีมีน้ําหนักน้อยกว่า 50 กิโลกรัม รับประทานวันละ 1 ครั้งครั้งละ 450 มิลลิกรัม ผู้ท่ีมีน้ําหนัก 50 กิโลกรัมข้ึนไป รับประทานวันละ 1 ครั้ง ครั้งละ 600 มิลลิกรัม ยาฉีดเข้าเส้นเลือด ฉีดยาวันละ 1 ครั้ง ครั้งละ 10 มิลลิกรัมต่อน้ําหนักตัว 1 กิโลกรัม ปริมาณสูงสุดไม่เกิน 600 มิลลิกรัมต่อวัน
คําเตือนในการใช้ยา Rifampicin หากเคยมีประวัติแพ้ไรแฟมพิซิน ยา อาหาร หรือ สารชนิดอื่นๆ ควรแจ้งให้แพทย์ทราบก่อนใช้ยา
ผลข้างเคียงจากการใช้ยา Rifampicin มีอาการแพ้ เช่น หายใจลําบาก เป็นลมพิษ ใบหน้า คอ ริมฝีปาก หรือลิ้น บวมมีเลือดออก เช่น เลือดกําเดาไหล เลือดออกตาม ไรฟัน มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เช่น มีไข้ หนาวสั่น ปวดตามร่างกาย ปวดศรีษะ รู้สึกมึนงง
PYRAZINAMIDE (ไพราซินาไมด์)
PYRAZINAMIDE (ไพราซินาไมด์) การใช้ยาPyrazinamide ใช้ยาตามฉลากและตามคําสั่งแพทย์อย่างเคร่งครัด หากมีข้อสงสัยควรสอบถามแพทย์หรือเภสัชกรก่อนใช้ยาเสมอ
ปริมาณการใช้ยาPyrazinamide ผู้ใหญ่ : สําหรับการรักษาปกติเป็นระยะเวลา 2 เดือน •น้ําหนักตัวน้อยกว่า 50 กิโลกรัม รับประทานยาปริมาณ 1.5 กรัม/วัน •น้ํา หนักตัว 50 กิโลกรัมข้ึนไป รับประทานยา 2 กรัม/วัน เด็ก: สําหรับการรักษาปกติเป็นระยะเวลา 2 เดือน รับประทานยาปริมาณ 35 มิลลิกรัม/น้ําหนักตัว 1 กิโลกรัม
ผลข้างเคียงจากการใช้ยา Pyrazinamide ปวดข้อหรือข้อบวม ตับผิดปกติ ทําให้มีอาการ เช่น ไม่อยากอาหาร อาเจียน อ่อนเพลีย ตัวเหลืองตาเหลือง ท้องไส้ ปั่นป่วน ปวดท้อง ปัสสาวะมีสีเข้ม อุจจาระมีสีซีด
คําเตือนในการใช้ยาPyrazinamide แจ้งให้แพทย์ทราบก่อนใช้ยา Pyrazinamide หากมีประวัติเป็นโรคเก๊าท์ โรคตับ โรคไต โรค เบาหวาน มีระดับกรดยูริกในเลือดสูง โรคพอร์ฟีเรียชนิดฉับพลัน หรือผู้ที่ดื่มแอลกอฮอล์
ETHAMBUTOL (อีแทมบูทอล)
ETHAMBUTOL (อีแทมบูทอล) การใช้ยาEthambutol หากลืมใช้ยาตามเวลาที่กําหนด ให้ใช้ยาทันทีท่ีนึกข้ึน ได้แต่หากใกล้ถึงเวลาใช้ยาในรอบถัดไป ให้ข้ามไปใชเลยยารอบต่อไป และไม่เพิ่มปริมาณยาเป็น 2 เท่า แจ้งให้แพทย์ทราบหากอาการไม่ดีข้ึนหรือแย่ลง
ปริมาณการใช้ยาEthambutol ผู้ใหญ่ : รับประทานยาปริมาณ 15-25 มิลลิกรัม/น้ําหนักตัว 1 กิโลกรัม วันละ 1 ครั้ง หรือ 25-30 มิลลิกรัม/น้ําหนักตัว 1 กิโลกรัม สัปดาห์ละ 3 ครั้ง เด็ก : รับประทานยาปริมาณ 15-20 มิลลิกรัม/น้ําหนักตัว 1 กิโลกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลา 60 วัน หลังจากนั้นให้รับประทานยาปริมาณ 15 มิลลิกรัม/น้ําหนักตัว 1 กิโลกรัม
ผลข้างเคียงจากการใช้ยา Ethambutol ปวดข้อหรือข้อบวม ตับผิดปกติ ทําให้มีอาการ เช่น ไม่อยากอาหาร อาเจียน อ่อนเพลีย ตัวเหลืองตาเหลือง ท้องไส้ ปั่นปรอวน ปวดท้อง ปัสสาวะมีสีเข้ม อุจจาระมีสี ซีด
คําเตือนในการใช้ยาEthambutol แจ้งให้แพทย์ พยาบาล เภสัชกร และทันตแพทย์ ทราบวรอากําลังใช้ยานี้ก่อนเข้ารับการรักษาใด ๆ
TIOTROPIUM (ไทโอโทรเปี่ยม)
TIOTROPIUM (ไทโอโทรเปี่ยม). การใช้ยา Tiotropium ใช้ยาตามฉลากและตามคําสั่งแพทย์อย่างเคร่งครัด ห้ามใช้ยานี้ใน ปริมาณมากกว่า น้อยกว่า หรือติดต่อกันนานกว่าที่แพทย์แนะนํา
ผลข้างเคียงจากการใช้ยา Tiotropium ปากแห้ง เวียนศีรษะ มองเห็นเป็นภาพเบลอ ท้องผูก เจ็บขณะปัสสาวะ ท้องไส้ปั่นป่วน เจ็บหน้าอก หัวใจเต้น เร็ว และมีอาการหวัดอย่างมีน้ํามูกไหลหรือเจ็บคอ
ปริมาณการใช้ยา Tiotropium ปริมาณและระยะเวลาในการใช้ยาข้ึนอยู่กับดุลยพินิจ ของแพทย์ผู้รักษา ผู้ใหญ่หากใช้เครื่องสูดพ่นยาชนิดผงให้ใช้ครั้งละ 1 แคปซูล หรือปริมาณ 18 ไมโครกรัม วันละ 1 ครั้ง โดยใช้ในเวลาเดียวกันของทุก ๆ วัน หากใช้เครื่องสูดพ่นยาชนิด ละอองหมอกให้ใช้ครั้งละ 2 หลอดยา หรือประมาณ 5 ไมโครกรัม วันละ 1 ครั้ง โดยใช้ในเวลาเดียวกันของทุก ๆวัน
คําเตือนในการใช้ยา Tiotropium •แจ้งให้แพทย์ทราบ หากมีประวัติแพ้ยาหรือส่วนประกอบของ ยา Tiotropium •แจ้งให้แพทย์ทราบขณะใช้ยา หากผู้ป่วยต้องเข้ารับการผ่าตัด หรือทันตกรรมใด ๆ •ไม่อนุญาตให้ใช้ยา Tiotropium ในเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 6 ปี
ยาบรรเทาอาการหวัด
ยาต้านฮีสตามีน(ANTIHISTAMINES)
ยาต้านฮีสตามีน(ANTIHISTAMINES)ใช้รักษาอาการ
ผื่นแดง คัน ลมพิษ คัดจมูก น้ํามูกไหล จาม ตาแดง คันตา น้ําตาไหล ไอ เจ็บคอ คอแห้ง อาการบวมตามผิวหนัง เปลือกตา
ชนิดของยาต้านฮีสตามีน
ยาต้านฮีสตามีนชนิดง่วงซึมเช่น ยาคลอร์เฟนิรามีน (Chlorpheniramine) ยาไดเฟนไฮดรามีน (Diphenhydramine) ยาไดเมนไฮดริเนต (Dimenhydrinate) ยาไฮดรอไซซีน (Hydroxyzine) ยาบรอมเฟนิรามีน (Brompheniramine)
ยาต้านฮิสตามินชนิดไม่ง่วง เช่น ยาเซทิริซีน (Cetirizine) ยาเลโวเซทิริซีน (Levocetirizine) ยาลอราทาดีน (Loratadine) ยาเดสลอราทาดีน (Desloratadine)ยาเฟกโซเฟนาดีน (Fexofenadine)
วิธีใช้ยาต้านฮีสตามีนอ่านฉลากยาก่อนใช้และใช้ยาตามที่แพทย์และเภสัชกร เสมอ เพราะยาแก้แพ้มี หลายชนิดและหลายขนาด จึงควรใช้ตามคําแนะนําที่ถูก ต้อง หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับ การใช้ยา ควรถามแพทย์หรือเภสัชกร
ยาแก้คัดจมูก (NASAL DECONGESTANT)
ยาแก้คัดจมูก (NASAL DECONGESTANT) ข้อบงชี้ บรรเทาอาการคัดจมูกอัน เนื่องจากโรคหวัด โรคภูมิแพ้โรคไซนัสอักเสบ และอาการแพ้สิ่งอื่นๆ โดย ตัวยาจะช่วยให้ทางเดิน หายใจโล่ง
มีข้อห้ามการใช้ยาแก้คัดจมูก
•ห้ามใช้ในผู้ที่แพ้ยานั้น ๆหรือแพ้ยาอื่นๆ ที่มีผลกระตุ้นระบบประสาทอัตโนมัติ(Sympathomi metic drugs)
•ใช้ยานี้ตามวิธีใช้ที่ระบุไว้ในฉลากยาอย่างเคร่งครัด ไม่ใช้ยานี้ในขนาดที่มากหรือน้อยกว่าที่ระบุและไม่ควรหยุดการใช้ยานี้เอง
•ห้ามใช้ยาแก้คัดจมูกมากกว่า 1 ชนิดร่วมกันเช่น ทั้งชนิดรับประทาน, ยาพ่นจมูกและยาหยอดจมูก และห้ามใช้ร่วมกับยาเมทิลเฟนิเดต(Methylphenidate)
อาการไม่พึงประสงค์จาก การใช้ยาแก้คัดจมูก
•ผลต่อระบบประสาท เช่น ปวดศีรษะ กระสับ กระส่าย วิตกกังวล มือสั่น นอนไม่หลับ
•ผลต่อหัวใจ เช่น หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ
•ผลต่ออวัยวะตา เช่น โรคต้อหิน
•ผลต่อระบบทางเดินปัสสาวะ เช่น ปัสสาวะไม่ออก/ปัสสาวะขัด
•ผลต่อระบบทางเดินอาหาร เช่น คลื่นไส้ อาเจีย
•อื่นๆ เช่น เหงื่อออกมาก
ยาขับเสมหะ (EXPECTORANTS)
ยาขับเสมหะ(EXPECTORANTS)กลไกการออกฤทธิ์ของยายับยั้งเสมหะกลุ่มยาขับเสมหะนี้จะไป ช่วยกระตุ้นให้มีการ พัดโบกของขน (celia) ใน ทางเดินหายใจ เพื่อช่วยให้ได้และขับเอามูกออกมาได้มากข้ึน
ยาขับเสมหะในประเทศไทย
1.แอมโมเนียม คลอไรด์(Ammonium Chloride)
2.กัวฟีนีซีน (Guafenesin หรือ Glycerol Guaicolate)
3.เทอร์พีน ไฮเดรต (Terpin hydrate)
ผลข้างเคียงของยาขับเสมหะ เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ ง่วงนอน มีผื่นข้ึน ในผู้ที่มีอาการแพ้ยากลุ่มนี้ หายใจไม่ออก ในผู้ที่มีอาการแพ้ยากลุ่มนี้ หน้าบวม ปากบวม ในผู้ที่มีอาการ แพ้ยากลุ่มนี้ คลื่นไส้ อาเจียน หรือปวดท้อง
ยาละลายเสมหะ (Mucolytics)
ยาละลายเสมหะ (Mucolytics) กลไกการออกฤทธิ์ ของยาละลายเสมหะ อะเซทิลซิสเทอีน (Acetylcysteine) และ คาร์โบซิสเทอีน (Carbocysteine) มีกลไกการออกฤทธ์คือ การไปทําให้การเกาะกันของพันธะไดซัลไฟด์ของเสมหะลดลง เสมหะจึงมีความข้นเหนียวลดลง
ประเภทของยาละลายเสมหะ
ยาน้ําละลายเสมหะ
เม็ดฟู่ละลายเสมหะ
ยาพ้นละลายเสมหะ
ยาสมุนไพรละลายเสมหะ
ผลข้างเคียงของยาละลายเสมหะ ปวด หรือเวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง และอาจ มีเลือดออกในทางเดินอาหาร ควรระวังการใช้เป็นพิเศษในผู้ท่ีมี ประวัติมีแผลในกระเพาะอาหาร ลําไส้ และผู้ป่วยโรคหอบหืด ควรระวังการใช้ในเด็กสําหรับยา ทุกตัวในกลุ่มนี้
ยาระงับอาการไอ (Antitussives)
วิธีการใช้ยา ก่อนใช้ยาผู้ป่วยต้องแจ้งให้แพทย์ทราบก่อนเสมอหากเคยแพ้ยาระงับ อาการไอตัวใดมาก่อน หรือมีอาการแพ้ยาและสารชนิดใด
ผลข้างเคียงของยา คลื่นไส้ อาเจียน ปวดหัว กระสับกระส่าย เวียนหัว ง่วงซึม ท้องผูก ท้องไส้ปั่นป่วน
ยาระงับอาการไอ (Antitussives) กลไกการออกฤทธิ์
ยารักษาโรคหอบหืด (Antiasthmatic drugs)
Adrenaline( Epinephrine) การออกฤทธิ์ กระตุ้นตัวรับ α และ β-adrenergic ภายในระบบประสาทซิมพาเธติคใช้รักษาภาวะหดเกร็งของหลอดลมและการแพ้ยาชนิด Anaphylaxis
ผลข้างเคียง หากได้รับยาเป็นเวลานานๆ จะทําให้เกิดปฏิกิริยากับหัวใจและการไหลเวียน เช่น เกิดความดันโลหิตสูงชีพจรเต้นเร็วหัวใจเต้นไม่เป็น
Aminophylline การออกฤทธิ์ขยายหลอดลม เพิ่มการบีบตัวของหัวใจ ทําให้หลอดเลือดขยายตัวและ มีฤทธิ์ในการขับปัสสาวะ
ผลข้างเคียง ความดันโลหิตต่ำใจสั่นใจเต้นไม่เป็น
Bambuterol การออกฤทธิ์ เป็น β2-adrenergic agonist ที่มีฤทธิ์ยาว
ผลข้างเคียนะ อาจเพิ่มอัตราการเต้นของ หัวใจ มือสั่น ปวดศีรษะ กล้ามเนื้อเกรง
Fenoterol การออกฤทธิ์ เป็น β2-adrenergic agonist
ผลข้างเคียง กระสับกระส่ายมึนงง กลัว เหนื่อยล้าหัวใจเต้นเร็ว แสบอก
Ipratropium การออกฤทธิ์ ยาประกอบด้วยIpratropium bromideซึ่งเป็นยาประเภท Anticholinergic ออกฤทธิ์ลดการเกร็งของหลอดลม และ Fenoterol hydrochloride ซึ่งเป็น
ผลข้างเคียง อาจพบอาการกล้ามเนื้อกระสับกระส่ายที่ไม่พบบ่อยนัก
Procaterol การออกฤทธิ์ เป็น β2-adrenergic agonist ที่มีฤทธิ์ยาว
ผลข้างเคียง อาจเพิ่มอัตราการเต้นของ หัวใจ มือสั่นปวดศีรษะกล้าม เนื้อเกร็ง
Salbutamol การออกฤทธิ์ ยาจะกระตุ้นที่ β2-adrenocepter ในขนาดที่ใช้รักษาจะออกฤทธิ์ที่ β2-adrenocepter ของกล้ามเนื้อหลอดลมหากใช้ขนาดสูง กระตุ้น β1-adrenocepter ของหัวใจการออกฤทธิ์ที่เร็ว
ผลข้างเคียง มีน้อยโดยเฉพาะยาที่ให้โดย การพ่นหรือสูดดมหากใช้รับประทานอาจพบอาการมือสั่นปวดศีรษะหัวใจเต้นเร็ว
ยาขับเสมหะและยาระงับอาการไอ
Acetylcysteine
การออกฤทธิ์ ช่วยให้เสมหะที่เหนียวเหลวขึ้นขับพวกมูก โดยไปทําลาย Disulfide bond ของยาลดความหนืดขึ้นของเสมหะ Muco protein
ผลข้างเคียง ซึม ง่วงนอน เยื่อบุปากอักเสบ น้ำมูกใสๆไหลคลื่นไส้อาเจียนผื่นลมพิษควรระวังใน ผู้ป่วยที่เป็นโรคหอบหืด
Ammonium Chloride
การออกฤทธิ์ ขับเสมหะอย่างอ่อน การดูดซึมของยาจะ เป็นไปอย่าสมบูรณ์ใน 3-6 ชั่วโมงและจะถูก Metabolized ในตับเป็น
ผลข้างเคียง ปวดศีรษะซึม เศร้า ง่วงหลับ สั่น กระตุก ชีพจรช้าจังหวการเต้นหัวใจ ไมสม่ำเสมอ ผื่นแดงที่ผิวหนัง
Bromhexine
การออกฤทธิ์ ช่วยให้เสมหะที่เหนียวเหลวขึ้นขับพวกมูก โดยไปทําลาย Disulfide bond ของ Muea protein
ผลข้างเคียง ซึมง่วงนอน เยื่อบุปากอักเสบ น้ำมูกใสๆ ไหลคลื่นไส้ อาเจียน ผื่นลมพิษ ควรระวังในผู้ป่วยที่เป็นโรคหอบหืด
Codeine
การออกฤทธิ์ กดศูนย์การไอ มีประสิทธิภาพในการระงับ อาการไอประมาณครึ่งหนึ่งของMorphine และทําให้เสพติดน้อยกว่า Morphineโอกาส ติดยาน้อยกว่าเพราะขนาดท่ีใช้ต่ำและใช้เวลา สั้น กดศูนย์การโอน้อย ขนาดน้อยๆ ใช้ระงับ อาการไอแห้งๆระงับอาการปวด
ผลข้างเคียง คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก มึน ศีรษะ ใจสั่นง่วงนอนหากได้ยาเกินขนาดจะมีอาการ ชัก เป็นลม
Dextromethorphan
การออกฤทธิ์ กดการไอ มีผลโดยตรงกับศูนย์กลางการไอที่ Medulla ยาจะดูดซึมได้อย่างรวดเร็วในระบบทางเดินอาหาร
ผลข้างเคียง หากให้ขนาดสูงๆ จะมีอาการซึมมึนงง ทําให้ง่วงคลื่นไส้และมึนศีรษะ
Diphenhydramine
การออกฤทธิ์ ต้านฮีสตามีนร่วมกับยาต้านCholinergic ปปิดกั้นฮีสตามีนตรงตําแหน่ง H1 receptor จึงช่วยลดอาการบวม ลดการหด เกร็งตัวของระบบหายใจ ทางเดินอาหารลด การอาเจียนเป็นยานอนหลับระงับอาการไอ
ผลข้างเคียง ทําให้ง่วงนอน มันซึม ปวดศีรษะ ปาก แห้ง ท้องผูก เวียนศีรษะ อ่อนเพลีย ใจสั่น ชีพจรเร็ว
Glyceryl guaiacolate/Guaifenesin
การออกฤทธิ์ ลดความหนืดของเสมหะช่วยทําให้ เสมหะเหลวลงโดยเพิ่มความชุ่มชื้นใน ทางเดินหายใจขับออกได้ง่ายด้วยการ ไอออกมา
ผลข้างเคียง พบน้อย คลื่นไส้ อาเจียน มึน งง ปวด ศีรษะ ผื่นแพ้ ท้องเสีย ปวดท้อง