Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 หลักการและวิธีการให้โภชนศึกษา - Coggle Diagram
บทที่ 5 หลักการและวิธีการให้โภชนศึกษา
:red_flag:
การให้โภชนศึกษา
**
หมายถึง การสอน หรือเผยแผ่ความรู้ ทางด้านอาหาร [และโภชนาการแก่ผู้ป่วย
วัตถุประสงค์
เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการผู้ป่วย
เพื่อควบคุมและป้องกันภาวะทุพโภชนาการ
เพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อน ลดอัตราการตาย
เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีอายุยืนยาวขึ้น
เพื่อให้ผู้ป่วยตระหนักถึงความสำคัญของโภชนาการต่อสุขภาพ
เพื่อให้รู้จักเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์อย่างเหมาะสม
เพื่อให้เข้าใจหลักการประกอบอาหารอย่างสงวนคุณค่า สามารถใช้ประโยชน์จากอาหารในท้องถิ่นได้เต็มที่
สามารถประเมินภาวะโภชนาการตนเองและเผยแพร่ความรู้แก่ผู้อื่นต่อไปได้
:star:
ประเภทของการให้โภชนศึกษา
1. การให้โภชนศึกษาแก่ผู้ป่วย
– ผู้ป่วยใน (IPD)
– ผู้ป่วยนอก (OPD)
สร้างความรู้ความเข้าใจหลักโภชนาการที่เกี่ยวกับรายโรคของผู้ป่วย
2. การให้โภชนศึกษาแก่ญาติผู้ป่วย
เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ สามารถดูแลด้านอาหารและโภชนาการผู้ป่วยได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
3. การให้โภชนศึกษาในชุมชน
เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจหลักการบริโภคอาหารแก่ประชาชน บุคคลทั่วไป
สร้างสังคมสุขภาวะอย่างยั่งยืน
หลักการให้โภชนศึกษา
:star:
วางเป้าหมาย วัตถุประสงค์ในการให้โภชนศึกษา สิ่งที่ต้องคํานึงถึงคือ
กลุ่มเป้าหมาย/จำนวน
เพศ
วัย
ระดับการศึกษา
ภูมิลำเนา
ภาวะโภชนาการของผู้ป่วย
ภาวะของโรคปัญหาของผู้ป่วย
แผนการรักษาของแพทย์
จัดรูปแบบการสอน
จัดรูปแบบกิจกรรม การใช้สื่อต่าง ๆ
การให้ข้อมูลสำคัญอย่างถูกต้อง ครบถ้วน
จัดรูปแบบการสอนให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย
การประเมินผล
การประเมินผลความรู้ความเข้าใจของผู้เรียน
การประเมินผลผู้ให้โภชนศึกษา
โดยผู้เรียน
โดยการประเมินตนเอง
ผู้ให้โภชนศึกษาที่ดี
:<3:
3.มีทักษะ
ทักษะในการสร้างสัมพันธภาพการเอาใจใส่
การมอง
กริยาท่าทาง
น้ำเสียง
ทักษะในการเปิดเผยตน
ทักษะในการฟัง
ทักษะในการตอบโต้
ให้ใช้คําถามเปิดมากกว่าคําถามปิด
ให้กําลังใจ
นุ่มนวล
ทักษะการสังเกต
ทักษะการสรุปประเด็น
ทักษะในการให้โภชนศึกษา
4.มีข้อมูล
ทราบข้อมูลพื้นฐานผู้ป่วย
1.มีทัศนคติที่ดี
2.มีความรู้
ขั้นตอนการให้โภชนศึกษา
:female-doctor::skin-tone-2:
กล่าวทักทายต้อนรับ
แนะนําตัว
สอบถามข้อมูล/พฤติกรรมการบริโภค
คัดกรองและประเมินภาวะโภชนาการ
รับฟังปัญหา
ประเมินความรู้ ความเข้าใจพื้นฐาน
จากการสอบถาม
จากการใช้แบบประเมิน
การให้โภชนศึกษา
วัตถุประสงค์
ความสำคัญ/ปัญหา
ความต้องการของร่างกาย
อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง อาหารที่ควรรับประทาน
หลักการจัดอาหาร
รูปแบบในการให้ความรู้
การใช้หลักอาหารแลกเปลี่ยน
อาหารหลัก 5 หมู่
โภชนบัญญัติ 9 ประการ
ธงโภชนาการ
สื่อการสอน
การสังเกตการรับรู้ความสนใจของผู้ป่วยเพื่อปรับเทคนิคการสอน
สรุปเนื้อหา ทบทวนความเข้าใจ
การประเมินผลการให้ความรู้
การติดตามและการประเมินผลการให้โภชนศึกษา
จากการติดตามภาวะโภชนาการ
จากการสังเกตการปรับปรุงพฤติกรรมการบริโภค
จากการสอบถามญาติ
จากแบบประเมินความรู้
สรุปประเมินผลการติดตามปัญหาที่เกิดขึ้น
พฤติกรรมของบุคคลเมื่อเกิดความเจ็บป่วย
วงจรความเศร้าโศกคูเบอร์โรส
ขั้นปฏิเสธ (Denial) : กลไกลการป้องกันตัวเพื่อหลีกเลี่ยงความเจ็บปวดจากการรับรู้
โกรธ (Anger) : การผลักความคับข้องใจ ความอึดอัด ความไม่สบายใจ ที่มีอยู่ในตนเองออกมา
ต่อรอง (Bargaining) : ระยะที่บุคคลหาทางออกจากข่าวร้ายที่ได้รับ แต่ยังไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลง
เศร้าซึมหดหู่ (Depression) : ระยะที่บุคคลกลับย้อนคิดถึงสิ่งที่ผ่านมา
ยอมรับ (Acceptance) : ระยะที่บุคคลยอมรับกับสภาพที่เกิดขึ้นแล้ว จะมีการแสดงออกที่ต่างกันไป
:pill:
เทคนิคการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วย
สิ่งที่ต้องคำนึงถึงเมื่อให้คำปรึกษากับผู้ป่วย
การสร้างความสัมพันธ์และบรรยากาศแห่งความไว้ใจ – การแสดงตัวว่าเป็นพวกเดียวกัน
ตระหนักถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
การเข้าใจรูปแบบการเรียนรู้ของบุคคลที่แตกต่างกัน
จากองค์ประกอบภายใน
สายตา
อายุ
การได้ยิน
อาการเจ็บป่วย
จากองค์ประกอบภายนอก
ระดับการศึกษา
วิธีการเลี้ยงดู
ความเชื่อ
สิ่งแวดล้อม
การสัมผัส
เศรษฐานะ
การเข้าใจถึงลักษณะการแสดงออกของแต่ละบุคคล
การฟังใจผู้ป่วยอย่างเข้าใจ
การเลือกใช้ประโยคทางบวก
การหาแรงจูงใจภายนอก
การสร้างทัศนคติที่ดี
:speech_balloon:
เทคนิคการสื่อสาร
เตรียมตัวให้พร้อม
ฝึกฝนให้ชํานาญ
ท่าทีสง่า
ใบหน้าแจ่มใส
ใช้วาจานุ่มนวล สุขุม
เริ่มต้นให้โน้มน้าว
กระชับไม่วกวน
จับตาที่ผู้ฟัง สังเกตการรับรู้
เสียงดังให้พอดีเหมาะสม
อย่าให้มีช่องว่าง
ดูเวลาให้พูดครบ
สรุปจบให้จับใจ
วัตถุประสงค์
เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการผู้ป่วย
เพื่อควบคุมและป้องกันภาวะทุพโภชนาการ
เพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อน ลดอัตราการตาย
เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีอายุยืนยาวขึ้น
เพื่อให้ผู้ป่วยตระหนักถึงความสำคัญของโภชนาการต่อสุขภาพ
เพื่อให้รู้จักเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์อย่างเหมาะสม
เพื่อให้เข้าใจหลักการประกอบอาหารอย่างสงวนคุณค่า สามารถใช้ประโยชน์จากอาหารในท้องถิ่นได้เต็มที่
สามารถประเมินภาวะโภชนาการตนเองและเผยแพร่ความรู้แก่ผู้อื่นต่อไปได้