Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Incisional Hernia ไส้เลื่อนบริเวณแผลผ่าตัด, A5C95B13-C279-42D7-9922…
Incisional Hernia
ไส้เลื่อนบริเวณแผลผ่าตัด
ข้อมูลกรณีศึกษา
ผู้ป่วยหญิงไทยวัยสูงอายุ อายุ 72 ปี สถานภาพสมรสโสด ไม่ได้ประกอบอาชีพ
วันที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล : 7 มิถุนายน 2565
วันที่รับผู้ป่วยไว้ในความดูแล : 12 มิถุนายน 2565
อาการสำคัญ
มีก้อนบริเวณหน้าท้อง ปวด เป็นมา 3 เดือนเเพทย์จึงนัดผ่า
ประวัติการเจ็บป่วยปัจุบัน
2 ปีก่อนตรวจพบ CA renal รับการรักษาด้วยการผ่าตัด SIP Rt nephroureterectomy ที่โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช รักษาต่อด้วยการให้ Chemotherapy 3 เดือนก่อนตรวจพบก้อนบริเวณหน้าท้อง มีอาการปวด ไม่ได้รับการรักษาที่ไหนมาก่อน เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราชแพทย์นัดมาผ่าตัด Repair incisional hernia
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
โรคเบาหวาน โรคไขมันในเลือดสูง โรคความดันโลหิตสูง
สาเหตุการเกิดโรคตามทฤษฎี
เกิดจากการอ่อนแอของผนังหน้าท้องซึ่งอาจเป็นแต่กำเนิดหรือเกิดภายหลังผ่าตัด
หรืออาจเกิดจากปัจจัยที่มีผลให้ความดันภายในช่องท้องเพิ่มขึ้น เช่น การไอเรื้อวัง
ท้องอืด มีน้ำในช่องท้อง การอ้วนมากๆ หรือผอมมากๆ การตั้งครรภ์ การเบ่ง
ถ่ายอุจจาระ ไอเรื้อรัง เล่นกีฬาหนักๆ เป็นต้น
พยาธิสภาพตามทฤษฎี
ส่วนใหญ่เกิดจากความดันในช่องท้องสูงหรือความอ่อนแอของกล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อเช่น การผ่าตัดช่องท้อง การบาดเจ็บ ผู้สูงอายุเนื้อเยื่อไขมันอ่อนแอทำให้เกิดช่องหรือจุดอ่อนขึ้น ทำให้อวัยวะในช่องท้องที่มีเชื่อบุช่องท้องปกคลุมอยู่นั้น ดันยื่นออกมาเป็นก้อนไส้เลื่อน อวัยวะในช่องท้องที่เคลื่อนออกมาส่วนใหญ่ คือ ลำไส้เล็ก ซึ่งเลื่อนเข้าออกได้ตามความดันช่องท้อง เมื่อความดันช่องท้องลดลงจะเลื่อนกลับเข้าที่เดิม เมื่อเป็นนานๆ ก้อนโตโป่งออกมาก ช่องทางผ่านเล็ก ทำให้การไหลเวียนเลือดไม่สะดวก ลำไส้ที่เลื่อนออกไปเป็นถุงหรือก้อนไส้เลื่อน เลื่อนกลับเข้าที่เดิมไม่ได้ ถ้าเป็นมากลำไส้ที่อยู่ในถุงบิดตัว
บวม คอของถุงแคบ ทำให้เกิดลำไส้อุดกั้นได้ (obstructed henia) ถ้าเป็นรึนแรงมากจนขาดเลือดไปเลี้ยง (strangulated hernia) ผู้ป่วยจะมีอาการปวดท้องมากเป็นภาวะแทรกซ้อนที่อันตรายต้องทำการผ่าตัดด่วน
สาเหตุของผู้ป่วย
น้ำหนัก
ผู้ป่วยน้ำหนัก 85 กิโลกรัม ส่วนสูง 150 กิโลกรัม
ดัชนีมวลกาย BMI 37.78 อยู่ในเกณฑ์ระดับอ้วนมาก (โรคอ้วนระดับที่ 3)
การผ่าตัด
2 ปีก่อนผู้ป่วยเป็น CA renal pelvic ได้รับการผ่าตัด SIP Rt nephroureterectomy
การเบ่งถ่ายอุจจาระ
ผู้ป่วยให้ข้อมูลว่าตนเป็นคนถ่ายยาก ต้องซื้อยาระบายมากินทุกครั้ง
ไม่ชอบรับประทานผักและผลไม้
พยาธิสภาพของผู้ป่วย
ไส้เลื่อนบริเวณแผลผ่าตัด (incisional hernia) เป็นไส้เลื่อนที่เกิดกับผู้ที่เคยเข้ารับการผ่าตัดภายในช่องท้องมาก่อน หรืออาจเกิดระหว่างที่แผลผ่าตัดยังไม่หายสนิทก็ได้ โดยพบได้ทุกเพศทุกวัยเนื่องจากการผ่าตัดทำให้กล้ามเนื้อหน้าท้องอ่อนแอหรือหย่อนยานจนลำไส้หรืออวัยวะอื่นๆ ดันตัวขึ้นมา
การรักษา
ตามทฤฎี
นำลำไส้กลับเข้าไปในช่องท้องและเย็บซ่อมรู หรือตำแหน่งที่ลำไส้ออกมา
การผ่าตัดมักจะได้ผลดีโดยผ่าตัดแก้ไขส่วนที่อ่อนแรง เช่น ผนังหน้าท้องให้กระชับ
ตึงขึ้น (Herniorrhaphy) หรือ (Herniotomy เป็นการผ่าตัดบริเวณไส้เลื่อนเมื่อ
นำไส้กลับเข้าในช่องท้องแล้วเย็บซ่อมรูหรือจุดอ่อน หรือผ่าตัดโดยใช้แผ่นสาร
สังเคราะห์เย็บปิดรูหรือจุดอ่อน (Hernioplasty)
ตามการรักษาของเเพทย์
ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัด Repair incisional hernia
ผู้ป่วย on retain foley’s, มียา metronidazole 500 mg vein q 8 hr, มียา Tramol ให้ (50) 1 tab oral q 8 hr, ,NPO
ประเภทของ Hernia
Indirect Inguina Hernia พบมากที่สุด ในเพศชาย เป็นไส้เลื่อนที่ไหลจากช่องท้องเข้าไป
ใน inguinal canal อาจลงมาสุดที่ถุงอัณฑะ
Direct Inguinal Hernia เกิดจากมีการเพิ่มความดันในช่องท้องสูง หรือมีกล้ามเนื้ออ่อนแอ
Femoral Hernia พบมากในเพศหญิง เป็นภาวะไส้เลื่อนที่ลำไส้ไหลผ่าน femoral ringและลงเข้าไปใน femoral canal
Umbilical Hernia เกิดขึ้นบริเวณสะดือ เนื่องจากมีการเพิ่มแรงดันในช่องท้อง เช่นการตั้งครรภ์
Incisional Hernia เกิดจากหลังผ่าตัดและการหายของแผลมีรูเปิดภายในทำให้มีไส้เลื่อนลง
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
Day 1
ไม่สุขสบายเนื่องจากมีอาการท้องผูกแน่นอึดอัดท้อง
ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผลผ่าตัดบริเวณหน้าท้อง
อาจเกิดการอักเสบติดเชื้อเนื่องจากมีแผลผ่าตัดเปิดออกสู่ภายนอก
เสี่ยงต่อการพร่องออกซิเจนเนื่องจากตัวนำออกซิเจนลดลง
Day 2
ไม่สุขสบายเนื่องจากมีอาการท้องผูกแน่นอึดอัดท้อง
ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผลผ่าตัดบริเวณหน้าท้อง
อาจเกิดการอักเสบติดเชื้อเนื่องจากมีแผลผ่าตัดออกสู่ภายนอก
หมดความภูมิใจในตนเองเนื่องจากต้องพึ่งพาคนอื่น
การวินิจฉัย
CT
IMPRESSION: Evidence of right nephrectomy and recently repair incisional hernia. Tube drainage is placed at lower midline anterior abdominal wall. No lesion at right renal bed.
No change in size of multiple paraaortic, aortocaval and retrocaval nodes (up to 1.5 cm in short axis), likely metastatic nodes.
Rather well-defined heterogeneous iso-density mass (4.3 x 6.3 cm) with fat component, a few intenral gas bubbles and mild srrounding fat stranding at mid lower abdomen, abutting to lower midline anterior abdominal wall, which walled off fat necrotic collection cannot be rule out.