Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แบบประเมินผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
แบบประเมินผู้สูงอายุ
ประเมินภาวะโภชนาการ
ㆍBMI
ㆍ สุขภาพปากและฟัน
ㆍ แบบประเมิน MNA:Mini Nutrition Assessment
คะแนนการคัดกรอง เต็ม 14 คะแนน
12-14 คะแนน=มีภาระโภชนาการปกติ
8-11 คะแนน=มีความเสี่ยงต่อการะขาดสารอาหาร
0-7 คะเนน=ขาดสารอาหาร
การส่งเสริมและป้องกันภาวะขาดสารอาหาร
ควรมีอาหารให้ผู้สูงอายุเลือกรับประทานหลากหลาย
ควรเพิ่มคุณค่าของอาหารในแต่ละมื้อที่รับประทาน
ควรหลีกเลี่ยงอาหารและเครื่องดื่มที่ไม่มีคุณค่าทางโภชนาการ
ควรเพิ่มมื้อของว่างในช่วงกลางวันระหว่างอาหารมื้อหลัก
ตรวจสุขภาพช่องปากและฟันสม่ำเสมอ
เพื่อไม่ให้เป็นอุปสรรคในการรับประทานอาหาร
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับภาวะสุขภาพของบุคคลและครอบครัว
เพื่อนำไปสู่ภาวะสุขภาพและความต้องการของผู้ป่วย
กระบวนการประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ
การซักประวัติ
การตรวจร่างกายในแต่ละระบบ
การบันทึกผลการประเมินภาวะสุขภาพ
การสัมภาษณ์ภาวะสุขภาพ
การคัดกรองภาวะหกล้ม
(Timed Up and Go Test ; TUGT)
ให้ผู้สูงอายุลุกขึ้นจากเก้าอี้ที่มีที่ท้าวแขน
เดินเป็นเส้นตรงระยะทาง 3 เมตร
หมุนตัวและเดินกลับมานั่งที่เดิม
การแปลผล
ใช้เวลาน้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 วินาที หมายถึง ปกติ
ใช้เวลา 11 - 20 วินาที หมายถึง เสี่ยงต่อการหกล้มปานกลาง
ใช้เวลามากกว่า 20 วินาที หมายถึง เสี่ยงต่อการหกล้มสูง
การส่งเสริมและป้องกันภาวะหกล้ม
การออกกำลังกายในน้ำ
ธาราบำบัดสำหรับผู้สูงอายุ
การออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุที่
ช่วยลดความเสี่ยงเรื่องการพลัดตกหกล้ม
การประเมินสภาพสมอง การคิดและจิตใจ
(Evaluation of cognitive and mental status)
ST 5 -อาการหรือความรู้สึกที่เกิดในระยะ 2-4 สัปดาห์
1มีปัญหาการนอน นอนไม่หลับหรือนอนมาก
2มีสมาธิน้อยลง
3หงุดหงิด/กระวนกระวาย/ว้าวุ่นใจ
4รู้สึกเบื่อ เซ็ง
5ไม่อยากพบปะผู้คน
คะแนนรวม/การแปลผล
0 - 4คะแนน เครียดน้อย
5 -7คะแนน เครียดปานกลาง
8 - 9คะแนน เครียดมาก
10 - 15 คะแนน เครียดมากที่สุด
การส่งเสริมด้านการคิดและจิตใจ
1.ให้ความรักและความอบอุ่น
หมั่นพูดคุย ใกล้ชิด ให้ความรัก ความอบอุ่น สร้างเสียงหัวเราะ
รวมถึงหาเวลาว่างทำกิจกรรมร่วมกันในครอบครัว
2.ให้เกียรติ
ระมัดระวังคำพูดและท่าทางที่แสดงออกต่อผู้สูงอายุ ไม่แสดงความรำคาญ ไม่ต่อว่าด้วยถ้อยคำรุนแรง หรือจับผิดเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ
3.ส่งเสริมความมีคุณค่าในตนเอง
ช่วยให้ผู้สูงอายุรู้สึกภาคภูมิใจและมีความเชื่อมั่นในตนเอง
โดยอาจปล่อยผู้สูงอายุพยายามช่วยเหลือตนเองในเรื่องง่าย ๆ
4.ฝึกระบบความคิด
ส่งเสริมความสามารถของผู้สูงอายุด้านความจำ การฝึก การวางแผน
และการแก้ไขปัญหาเพื่อชะลอความเสื่อมของสมองในด้านต่าง ๆ
5.ฝึกสมอง
เล่นเกมที่ช่วยฝึกฝนด้านความจำหรือฝึกสมองได้
เพื่อให้เกิดการแก้ปัญหา การจัดลำดับความคิด
6.ส่งเสริมการออกกำลังกาย
ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุหันมาดูแลสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง คล่องแคล่ว
การฝึกกายบริหาร โยคะ รำมวยจีน
หรือการออกกำลังกายที่เหมาะสมวันละ 15-30 นาที