Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองค์รวมในการสร้างเสริม ป้องกัน ป้องกันดูแล และฟื้นฟู…
การพยาบาลแบบองค์รวมในการสร้างเสริม ป้องกัน ป้องกันดูแล และฟื้นฟู มารดาในระยะหลังคลอดปกติ
1.การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีภาวะเสี่ยงทางด้านสุขภาพ
After pain After pai
บรรเทา โดยดูแลให้กระเพาะปัสสาวะว่าง คลึงยอดมดลูก นอนคว่ำ ทานยาแก้ปวด
ริดสีดวงทวารอักเสบ
แชร์คนด้วยน้ำอุ่นรับประทานอาหารที่มีกากใย
ถ้ามีอาการริดสีดวงทวารหนักอยู่แล้ว ให้ประคบด้วยน้ำอุ่นหรือนั่งแช่ในน้ำอุ่นจะช่วยบรรเทาอาการอักเสบของริดสีดวงทวารได้topic
ปัสสาวะลำบาก
ต้องกระตุ้นให้ปัสสาวะและความปัสสาวะได้เองหลังจากคลอด 8 ชั่วโมง หากยังไม่สามารถปัสสาวะออกให้พิจารณาการส่วนปัสสาวะ
Suหลังคลอด 8 ชั่วโมง มารดาควรถ่ายปัสสาวะได้เองแต่ในบางรายจะถ่ายปัสสาวะลำบากใน 1-2 วันแรกหลังคลอดเนื่องจากความตึงตัวของกล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะไม่มีก าสั่งหรือยืดมากเกินไปทําให้ปัสสาวะคั่ง หรือถ่ายลำาบาก พยาบาลต้องกระตุ้นให้ปัสสาวะ ถ้ากระตุ้นแล้วยังถ่ายเองไม่ได้ให้พิจารณาสวนปัสสาวะให้btopic
แผลฝีเย็บอักเสบ
แผลอาจมีอาการบวมเลือด รักษาความสะอาดแช่ก้นในน้ำอุ่น ป้องกันไม่ให้ท้องผูก ทำท่าขมิบก้น kemal ช่วยให้กล้ามเนื้อรอบๆทวารหนักกลับคืนสู่สภาพปกติ
ท้องผูก
กระตุ้นให้ขมิบก้นและช่องคลอด ไม่เป็นเรื่องเวลาถ่ายรับประทานอาหารที่มีกากใช้เพิ่มมากขึ้น ผลไม้สดผักเพื่อกระตุ้น Early ambulaion และให้ลำไส้มีการเคลื่อนไหว
สําหรับแบบผ่าตัดคลอดอาจมีอาการท้องผูก อาจเกิดเพราะล่าไส้อาจจะคืนสภาพ ทํางานปกติได้ช้าอันเป็นผลเนื่องมากจากการผ่าตัดตัวยาบางชนิด ที่ใช้ระงับความ เจ็บปวดจากการคลอด อาจส่งผลให้มีอาการท้องผูกได้ ยาวิตามินที่มีส่วนผสมของธาตุเหล็กก็ทําให้เกิดอาการท้องผูกได้
Reactionary fever Reactionary fever
Subtสาเหตุ THIRTY & HUNGRY นอนพัก ดื่ม& สารนํ้าตามแผนการรักษาแพทย์หลังคลอดมารดาจะรู้สักกร ะหายนํ้ามากกว่าหิว หรืออยากรับประทานอาหาร ดูอาการของมารดาแต่ละรายส่วนใหญ่การคลอดทางช่องคล อดมักไม่มีข้อห้ามของน้ำดื่มopic
2.การเปลี่ยนแปลงทางสรียวิทยาของมารดาหลังคลอด
สรีระวิทยา ระยะหลังคลอด
Involution ขบวนการที่หนทางคลอด มีการ เปลี่ยนแปลงเพื่อกลับคืนสู่สภาพปกติ เหมือนก่อนตั้งครรภ์
กลไก
1 ภาวะขาดเลือด Uterus หดรัดตัว เส้นเลือด ใน Myometrium ถูกบีบ ทำให้ขาดเลือดไปเลี้ยงชั่วคราว มดลูกซีด (Ischemic)
2 มีการสลาย Cytoplasm ของ Protein ใน Cell (Autolysis) ทำ ให้ Cell มีขนาดเล็กลง แผลรกเกาะ จะมีขนาดประมาณ 1 ฝ่า มือ
การพยาบาล
ก Basal Layer ไม่เปลี่ยนแปลง เนื่องจาก Hormone Estrogen ทำ ให้คงไว้ได้
ข. Decidua 2 ชั้น (Functional layer) จะเกิด Necrosis แล้วหลุด ลอก กลายเป็นน้ำคาวปลา หลังจากนั้น จะสร้างเนื้อเยื่อใหม่
ค. แผลรกเกาะหนึ่งฝ่ามือ เนื้อตายจะหลุดลอกปนกับ Lochia จากนั้นบริเวณรอบรอบจะเจริญมาแทนที่ (Involution)
ขนาดของมดลูก
ขนาดของมดลูก
น้ำหนักของมดลูกเมื่อไม่ตั้งครรภ์ หนัก ประมาณ 50 - 100 g.
น้ำหนักของมดลูกหลังคลอดทันที หนัก ประมาณ 1000 g. อยู่ ระดับสะดือ (ถ้าสูงกว่า สะดือ : bladder full, blood clot ใน โพรงมดลูก)
ใน 1 ชั่วโมงต่อมามดลูกจะลอยตัวสูงขึ้นมาอยู่ระดับสะดือ เนื่องจากการหดรัดตัวของ กล้ามเนื้อมดลูกส่วนบนและส่วนล่าง ไม่เท่ากันต่อจากนั้น
2 วันหลังคลอดมดลูกจะหดรัดตัวและลดขนาดลงวันละ 1/2 - 1 นิ้วหรือ ประมาณ 1 fingerbreadth (FB)
ขนาดของมดลูก
7 วันหลังคลอดระดับมดลูกจะอยู่กึ่งกลางระหว่างหัวเหน่ากับสะดือหรือ ประมาณ 3 นิ้ว ฟุตเหนือหัวเหน่า หนักประมาณ 500 กรัม
2 สัปดาห์หลังคลอดระดับมดลูกจะอยู่ที่ระดับหัวเหน่า(symphysis pubis) หรือ คล้าไม่พบทางหน้าท้องมี น้ำหนักประมาณ 300 กรัม
1 more item...
มดลูก (Uterus) (Belly & Fundus) มดลูกอยู่ระดับระหว่างสะดือกับ Public Symphysis ต่อมาลดลง 2 - 1 “/ day 10 -12 วัน จะคลำไม่พบ
การพยาบาล
•วัดความสูงของมดลูกทุกวัน
สังเกตน้ำคาวปลาทุกวันจากผ้าอนามัย
กล้ามเนื้อหน้าท้องหย่อน
กระเพาะปัสสาวะว่าง
ควรวัดเวลาเดียวกันทุกวัน
หน่วยการวัด ซม. หรือนิ้ว
•สังเกตน้ำคาวปลาทุกวันจากผ้าอนามัย
น้ำคาวปลา (Lochia) คือ สิ่งที่ถูกขับออกจากโพรงมดลูกมีฤทธิ์เป็นด่าง ประกอบด้วย เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว Bacteria Epithelial cell, degenerated decidual น้ำคาวปลา (Lochia) ( Bleeding )
1 Lochia Rubra 1-3 วันหลังคลอด จะเห็นเป็นสีแดงและ ไม่ เป็นก้อน หรือ ไม่เป็นลิ่มเลือด: เลือด เยื่อเมือก เยื่อบุมดลูก ฯลฯ - ปริมาณเลือดที่ออก ภาพที่ 3 ชุ่มผ้าอนามัย ประมาร 80 cc
2 Lochia Serosa 4-10 วัน หลังคลอด จะเห็นเป็นสีน้ำตาลอ่อน หรือสีชมพู มีจำนวนน้อยลง
3 Lochia Alba 11-15 วัน มีสีขาว (Cream) หรือ เหลืองจางๆ จำนวนน้อยมาก จนค่อยๆหมดไป จะหมดในหนึ่งเดือน
การเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก • ปากมดลูกเปลี่ยนจากกลมเป็นฉีกขวาง
การเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก
ปากมดลุกเปลี่ยนจากกลมเป็นฉีกขาวง
Vagina Outlet ฝีเย็บ Labia (อวัยวะสืบพันธ์ภายนอก
Benefit of Episiotomy
ลดการเกิด Third/Fourth degree tears
ป้องกันความเสียหายต่อกล้ามเนื้อที่ Pelvic floor
ง่ายต่อการซ่อมแซมแผลฝีเย็บและการหายของบาดแผลดีขึ้น
ลดการเกิดอันตรายต่อทารกในขณะคลอด เช่นทารกคลอดก่อนกำหนดที่มี กะโหลกศีรษะบาง หรือลดการคลอดติดไหล่ในทารกตัวโต
ลดการคลอดติดไหล่ด้วยการเพิ่มความกว้างของช่องทางคลอด
ช่วยให้การคลอดเป็นไปอย่างรวดเร็วสำหรับทารกที่อยู่ในภาวะเครียด
Adverse effects of Episiotomy
มีการฉีกขาดเพิ่มหลังจากตัดแผลฝีเย็บ ทำให้เกิด Third/Fourth degree tears ตามมา
เพิ่มความไม่น่าพึงพอใจของแผล เช่น asymmetry, fistular ,skin tags และการตีบแคบของช่องคลอด - เสียเลือดเพิ่มขึ้น
เพิ่มความเจ็บปวดหลังคลอด เพิ่มอัตราของแผลติดเชื้อและแผลแยก
หย่อนสมรรถภาพในการมีเพศสัมพันธ์
เพิ่มอัตราการเกิดแผลฝีเย็บตามหลังการคลอด
Episiotomy Episiotomy คือ การตัดบริเวณฝีเย็บเพื่อขยายปากช่องคลอด ซึ่งจะทำในระยะคลอดโดยแพทย์หรือพยาบาลผดุงครรภ์ผู้ทำการช่วย คลอด ซึ่งแผลดังกล่าวมักถูกตัดโดยกรรไกรผ่าตัดเมื่อฝีเย็บยืดและตึง เมื่อศีรษะทารกโผล่ให้เห็นที่ปากช่องคลอด จุดประสงค์หลักของการ ตัดฝีเย็บก็เพื่อที่จะเพิ่มความกว้างของช่องทางคลอดเพื่อช่วยคลอด ลด ระยะเวลาในระยะคลอด และเพื่อป้องกันการฉีกขาดเองของฝีเย็บซึ่ง episiotomy ถือเป็นหัตถการที่ทำบ่อยที่สุดในทางสูติศาสตร์
Episiotomy อุบัติการณ์ของ Episiotomyนั้น พบว่าสูงที่สุดในประเทศแถบ ละติน-อเมริกา และต่ำที่สุดในประเทศแถบยุโรป โดยอัตราส่วน ของการทำ episiotomy นั้นมีความแตกต่างกันอย่างมากในแต่ละ ประเทศ ตั้งแต่ 1% ในประเทศสวีเดน จนสูงถึง 80% ในประเทศ อาร์เจนตินา
รอยฉีกขาดของฝีเย็บ แบ่งออกได้เป็น
First degree การฉีกขาดของผิวหนังบริเวณฝีเย็บ และ เยื่อบุช่องคลอดแต่ไม่ถึงชั้น fascia และชั้นกล้ามเนื้อ
Second degree คือ มีการฉีกขาดของ fascia และชั้นกล้ามเนื้อแต่ไม่ถึงรูหูรูดของทวารหนัก
Third degree คือ second degree ที่มีการฉีก ขาดของรูหูรูดของทวารหนักร่วมด้วย (anal sphincter)
Fourth degree มีการฉีกขาดถึงบริเวณทวารหนัก (rectum) หรือเยื่อบุลำไส้ใหญ่ส่วนล่าง หรือท่อปัสสาวะร่วม ด้วย
ตัดฝีเย็บเพื่อให้เปิดช่องทางออกให้กว้างขึ้นเพื่อให้คลอดปลอดภัยกว่า เร็วกว่า
ชนิดของการตัดฝีเย็บ
Right Medio- lateral Episiotomy
Left Medio- lateral Episiotomy
Median episiotomy
Lateral Episiotomy
การเย็บซ่อมได้ง่าย สวย ด้วยไหมละลาย ถ้าดูแลดี จะหายภายใน 5-7 วัน
Old tear ไม่มีแผล เป็นรอยฉีดขาดจากครรภ์ก่อนที่มี Laceration แผลฝีเย็บอักเสบ ถ้าดูแลดีจะหายภายใน 5 วัน
[ตัดฝีเย็บ เพื่อให้เปิดช่องทางออกให้กว้างขึ้น เพื่อให้คลอด ปลอดภัยกว่า เร็วกว่า Episiotomy Right Mediolateral, Left Medio-lateral,
-Median episiotomy การเย็บซ่อมได้ง่ายสวยด้วยไหมละลาย
-Slight tear คือ ฉีกขาด
Laceration คือ มี
-Old tear ไม่มีแผล เป็นรอยฉีกขาดจากครรภ์ก่อน แผลฝีเย็บ - ไม่ควรอักเสบ ถ้าดูแลดีจะหายภายใน 5 วัน-แผลฝีเย็บ - ไม่ควรอักเสบ ถ้าดูแลดีจะหายภายใน 5 วัน
Bottom Vagina Outlet ฝีเย็บ Labia (อวัยวะสืบพันธ์ภายนอก)
1- Median incision
1+ 2=" T" incision
3=" J" incision
4- Mediolateral incision
5 = Lateral incision เช่น Right Medio- lateral Episiotomy cat gut continuous
ริดสีดวงทวารจากการที่ลำไส้ถูกเบียดและเคลื่อนไหวช้าขณะตั้งครรภ์และขนาดคลอด
ประจำเดือน (Menstruation)
Follicle Stimulating Hormone จะลดลง ใน 10-12 วัน จะเพิ่มขึ้น ประมาณ สัปดาห์ที่ 3 หลังคลอด Breast feeding : เลื่อนประจำเดือนและการตกไข่ จะ ตกไข่ประมาน 6 เดือน เร็วประมาณ 3 เดือน
บางราย รังไข่ไม่สนองต่อการกระตุ้น Follicle stimulating Hormone ให้เกิด Nonlactation จะมีตกไข่ เร็วที่สุด 27 วัน
การเปลี่ยนแปลงของเต้านม และ การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดา การสร้างน้ำนม เกิดจาก alveolus ถูกกระตุ้นโดย hormone prolactin
กลไกการหลั่งน้ำนม
~ เต้านมช่วง Pregnancyจะขยาย หลังคลอดจะขยายเพิ่มมากขึ้น Lobules เจริญมากเพื่อสร้าง Prolactin ที่ Anterior Pituitary, Prolactin จะไป กระตุ้น Breast ให้สร้าง
~ น้ำนม น้ำนม ในช่วงแรก 1-2 วันหรือ 2-3 วัน จะเรียกว่า Colostrum เป็นน้ำนมที่มี Protein สูง เกลือแร่สูง และ IgA ป้องกันโรค หลายอย่าง ช่วยขับขี้เทา 5-7 วัน จะเป็น Milk มาแทน
~ การสร้างน้ำนมมากหรือน้อย จะขึ้นกับ การดูด การปฏิบัติตัวของ มารดา สิ่งแวดล้อม
อุณหภูมิ (Temperature) Body temperature & blood pressure
• อุณหภูมิ หลังคลอด 24 ชั่วโมง จะเพิ่มขึ้นไม่เกิน 38°c (100.40 F) โดยวิธีวัดทางปากซึ่งเรียกว่า reactionary fever เกิดจากการเสีย พลังงาน นำ เลือด ระหว่างการคลอด สำหรับ รายที่มีอาการไข้เกินกว่า 24 ชั่วโมง มักเกิดจากการติดเชื้อ ใน 2-10 วันหลังคลอด
• ชีพจร ชีพจรมักช้าลงอยู่ระหว่าง 60-70 ครั้ง/นาที หรือ บางครั้งอาจจะช้าถึง 40-50 ครั้ง/นาที ใน 1-2วันแรกหลังคลอด และจะกลับสู่ภาวะปกติในวันที่ 7-10 หลังคลอด ไม่ทราบ สาเหตุแน่ชัด แต่เชื่อว่าเกิดจากการลดจำนวนเลือดที่ออกจาก หัวใจใน 1 นาที ชีพจรอาจจะเร็วขึ้นอาจจะเกิดจากสาเหตุการ สูญเสียเลือดมากจากการคลอด การติดเชื้อ ความเจ็บปวด ความวิตกกังวลหรือเป็นโรคหัวใจ
สัญญาณชีพ
ความดันโลหิต สูงขึ้นเพียงเล็กน้อยใน 1-24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด การเปลี่ยนท่านอนเป็นท่านั่งหรือท่านั่งเป็นท่ายืนกะทันหัน อาจทำให้เป็นลมหน้ามืด (Orthostatic hypotension)
การหายใจอัตราการหายใจ 16-24 ครั้ง/นาที ในรายที่มีอัตราการหายใจเร็ว อาจจะมีภาวะแทรกซ้อน ของหัวใจ และปอดจึงต้องเฝ้าระวังเป็นกรณีพิเศษ
ความดันโลหิต ไม่เกิน 130/90 mmHg, Sistolic Pressure 1.7 mmHg แต่ ถ้าสูงมากกว่า 140/90 mmHg อาจเป็น mm Hg และช่วงเช้าความดันจะต่ำกว่าช่วง บ่าย Diastolic Pressure อาจเพิ่ม 2.6 Pre- eclampsia
ทางเดินปัสสาวะ Bladder
ทางเดินปัสสาวะ Bladder บวมแดง (อาจมีเลือดออกใน Submucosa)
• Bladder ความจุเพิ่มขึ้น หลอดไต กรวยไต ขยาย จะ กลับสู่ปกติ ใน 2-3 wks Bladder โป่ง ถ่ายปัสสาวะ ไม่หมด และพบ Infection ได้ บ่อยRenal Function
หลังคลอด ไตทำงานน้อยลง เพราะว่า Hormone ลดลง ทำให้ Blood Urea nitrogen เพิ่มขึ้น จากการที่ มีการแตกตัวของใยกล้ามเนื้อของมดลูก ที่เพิ่มขึ้น
Glumerular filtration ที่เพิ่มขึ้น ตั้งแต่ Pregnancy ยังคง อยู่ ทำให้ ภายใน 12 ชั่วโมง ทำให้ ถ่ายปัสสาวะมาก และ เสียเหงื่อมาก ทำให้น้ำหนักลดลง น้ำหนักลดลง เท่า ประมาณ เท่าตอน Pregnancy 6-8 wks, ไตทำงานปกติ ภายใน 4-6 wks
3.การส่งเสริมการเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่
ข้อดีของน้ำนมมารดา
ให้สารอาหารครบถ้วน และจะมีการปรับคุณค่าและคุณสมบัติได้ ตามวัยของทารก โดยในช่วงแรกที่เป็น colostrums ใน 2-4 วัน แรก จะมีประมาณ 10-40 ml / day จะมี Protein, vitamin & immunoglobulin A (IgA) สูง มีน้ำตาลและไขมันต่ำใน Transitional Milk มี 5-10 วัน มี lactose ไขมันและพลังงานสูง ใน Mature Milk (มี ประมาณ 850 ml/day) ใช้เลี้ยงทารกจนกว่าจะหย่านมแต่ หลังจาก 6 เดือนไปแล้วนํ้านมจะลดลง
ประหยัด
สะดวก สะอาด และปลอดภัย
มีภูมิต้านทานต่อโรคติดเชื้อ
ด้านจิตใจ เป็นการช่วยสร้าง Bonding Attachment
วิธีการให้นมบุตร
ล้างมือ เช็ดทำความสะอาด เต้านม หัวนม ด้วยน้ำสะอาด
นั่งหรือนอนในท่าสบาย อาจใช้หมอนช่วยวางรองตัวเด็ก เพื่อให้ ปากเด็กอยู่ระดับเดียวกับหัวนม
ให้ลูกอมหัวนมลึก ๆ ถึงAreola เหงือกกดบริเวณ Areola จึงกระตุ้น ให้มีการหลั่ง Hormone Prolactin และ Hormone Oxytocin กระตุ้น การสร้างและขับน้ำนม
ให้ลูกดูดบ่อย ๆ อย่างน้อย ทุก 2-3 ชั่วโมง ในวันแรกๆเพื่อกระตุ้น การหลั่งน้ำนม หรือดูตามอายุเด็ก และน้ำหนัก
ในแต่ละมื้อให้ลูกดูดทั้งสองข้าง โดยเริ่มดูด 5 นาที ต่อไป 10 นาที ต่อไป 15 นาที ในมื้อถัดไปให้ลูกเริ่มดูดจากข้างที่ค้างไว้ก่อน สลับกันไป
เมื่อลูกอิ่มแล้ว ก่อนเอาหัวนมออกจากปาก ลูก แม่ใช้นิ้วกดคางเบา ๆ หรือเขี่ยข้างมุม ปาก เพื่อให้เด็กอ้าปาก ก่อนถอนหัวนม ออกจากปากลูก เพื่อป้องกันหัวนมถลอก
หลังให้นม ควรทำความสะอาดเต้านม หัวนม และซับให้แห้ง ใส่เสื้อ ยกทรงไว้
จับเด็กให้นั่ง หรืออุ้มพาดบ่า ลูบหลังให้เธอ ป้องกันท้องอืดและสำรอก
การปฏิบัติตัวของแม่เพื่อเลี้ยงลูกด้วยนํ้านมมารดา ( Breast feeding)
ให้ดูดนมแม่เร็วที่สุด
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
1-2 วันแรกให้ลูกดูดทุก 2 ชั่วโมง (ใช้เวลา 3-5 นาที) ต่อไป ให้นานขึ้น ประมาณ10-15 นาทีหรือตามความต้องการของเด็กทุก 3 ชั่วโมง (ไม่ควรเกิน 3 ชม)
ให้ดูดทั้ง 2 ข้าง (แต่ละครั้ง) ครั้งต่อไปเริ่มต้นข้างที่ดูดครั้งสุดท้าย
ห้ามให้น้ำ นมผสม หรือ น้ำ glucose
เช็ดหัวนมและเต้านมปล่อยให้แห้ง (หลังลูกดูด) จึงใส่เสื้อยกทรง
อาหาร เพิ่ม 500 Kcal/ day นม 3 แก้ว/day or เนื้อสัตว์ / หมวดเนื้อ 3 - ส่วน และทอดด้วยน้ำมัน ปรุงด้วยกะทิ (3 ช้อนชา หรือมากกว่า) ผลไม้ 2 ส่วน ข้าวสวย 9 ส่วน
การหลังน้ำนม
กลไกการหลั่งน้ำนมเรียกว่า Let down reflex เริ่มต้น เมื่อทารกดูดนมมารดา Posterior pituitary gland จะปล่อย Hormone Oxytocin ทำให้เนื้อเยื่อรอบ ๆ alveoli (อัลวิโอไล เป็น เนื้อเยื่อผนังของต่อมน้ำนม)หดตัว และกระตุ้นอัลวิโอไลและท่อเล็ก ๆ ทำให้มีการส่งน้ำนมไปยังท่อใหญ่(อยู่บริเวณ Areola {ลานนม))ซึ่งมี รูเปิดที่หัวนม เมื่อทารกดูดนมอาจจะมีน้ำนมไหลในข้างที่ไม่ได้ดูดได้ reflex การขับน้ำนม อาจจะถูกยับยั้งเนื่องจาก ความวิตกกังวล ความอ่อนเพลีย ความเจ็บปวด ความขัดแย้งทางอารมณ์ ความ เศร้าโศก ทําให้การผลิตน้ำนมลดลงชั่วคราว
การส่งเสริมการเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่ กระบวนการสร้างและหลั่งน้ำนม
การผลิตน้ำนม ในระยะหลังคลอดเมื่อระดับ Hormone Estrogen (ฮอร์โมนเอสโตรเจน) และ Hormone Progesterone (ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน) ลดลง จะเริ่มมี
การผลิตน้ำนม การกระตุ้นการผลิตน้ำนมโดยการดูด นมของทารก ซึ่งจะกระตุ้นปลายประสาทบริเวณหัวนม ไปตามไขสันหลัง สู่สมองงส่วนกลาง แล้วกระตุ้น Hypothalamus (ไฮโปทาลามัส)ให้มีการหลั่ง Hormone Prolactin (ฮอร์โมนโปรแลคติน) จากต่อม Anterior Pituitary (พิทูอิตารี่ส่วนหน้า)
อาการที่แสดงว่าลูกได้รับน้ำนมแม่เพียงพอ
ในสัปดาห์แรก ๆ หลังคลอด ~ ทารกดื่มนมประมาฯ 6-10 ออนซ์ ต่อวัน (200-300 cc)
~ ลูกปัสสาวะ 6 ครั้ง ขึ้นไปใน 24 ชั่วโมง (ปกติอย่างน้อยปัสสาวะ 1 ครั้งใน วัน แรก และอย่างน้อย 2 ครั้งในวันที่ 2)
~ ลูกอุจจาระ 4 – 8 ครั้งใน 24 ชั่วโมง (ปกติอย่างน้อย 1 ครั้งใน วันแรก 2 ครั้งในวันที่ 2 และ 3 ครั้งในวันที่ 3)
~ ลูกสงบสบาย พักใดไม่ร้องหิว ระหว่างมื้อนม
~ น้ำหนักลูกขึ้นโดยเฉลี่ย 18 - 30 กรัมต่อวัน
~ มีอาการที่แสดงว่าแม่มีน้ำนม ลูกได้รับน้ำนม (Sign of Milk removal) ~ ได้ยินเสียงกลืนนานมของลูก
~ เต้านมแม่ตึงก่อนให้นมและนิ่มลงหลังให้นมแม่แล้ว
~ มีนํ้านมใหล หรือแม่รู้สึกมีน้ำนมไหลออกมา (Let down sensation)
อาการที่ต้องระวัง (Breast feeding Warning Signs)
ท่าอุ้มและประคองเต้านม
ปัญหาที่พบบ่อยและวิธีการแก้ไข
1.น้ำนมมารดามีน้อย
2.น้ำนมมารดามีมาก
3.เต้านมคัดตึง
4.หัวนมมีความผิดปกติ
ถ้าพบอาการต่าง ๆ เหล่านี้ ควรที่จะต้องประเมินดูการดูดนม ประเมินสภาวะแม่ ลูก เพื่อช่วยเหลือแก้ไข ได้แก่
หลังเกิด 3 วัน ปัสสาวะน้อยกว่า 6 ครั้ง/วัน
หลังเกิดวันที่ 3 อุจจาระยังเป็นขี้เทาอยู่
หลังเกิดวันที่ 4 ถ่ายอุจจาระสีเหลือง น้อยกว่า 3-4 ครั้ง/วัน
ดูดนมแม่น้อยกว่า 8 ครั้ง/วัน เด็กหิวตลอด ร้องกวน ไม่พัก กระวนกระวาย
เด็กหลับนานระหว่างมื้อนม (หลับนานเกิน 4-6 ชั่วโมง)
แม่มีน้ำนม แต่ขณะลูกดูดนม ไม่ได้ยินเสียง หรือไม่เห็นการกลืน ผ่านลำดอ
น้ำนมแม่ไม่มาหลังคลอดวันที่ 5 (โดยทั่วไป ถ้าได้เริ่มให้นมเร็ว และบ่อย น้ำนมแม่จะมา ใน72 ชั่วโมงหลังคลอด)
เจ็บหัวนมขณะให้ลูกดูดนม
แม่มีนมคัดแข็ง หลังให้นมแม่ เต้านมไม่แฟบลง
น้ำหนักเพิ่มขึ้นน้อยกว่า 15-30 กรัม/วัน เมื่อน้ำนมมาเต็มที่แล้ว
น้ำหนักไม่เพิ่ม หรือ เท่ากับน้ำหนักเมื่อแรกเกิด ภายใน 10 วัน (ยกเว้นทารกน้ำหนักน้อย)
น้ำหนักลด มากกว่า 7 % ของน้ำหนักแรกเกิด ใน 3-4 วันแรก
ปัญหาที่พบบ่อย
น้ำนมมารดามีน้อย น้ำนมไม่พอ สาเหตุเกิดจากทารกดูดไม่ถูกวิธีหรือดูดไม่ถูกต้องเนื่องจากการดูดที่ ถูกวิธีจะทําให้นํ้านมมาดี ต่อมน้ำนมมารดามีปริมาณน้อยจึงไม่พอกับการ สร้างน้ำนม มารดาขาดสารอาหาร ในระยะหลังคลอดได้รับน้ำไม่เพียงพอ มารดาไม่ได้บีบนํ้านมที่เหลือค้างอยู่ภายในเต้าทิ้งเป็นเหตุให้การกระตุ้นการ สร้างนํ้านมลดลง
การพยาบาล
1.1 ในระยะ30 นาทีแรกหลังคลอดควรนำทารกไปดูดนมมารดาเร็วที่สุด
1.2. จัดให้มารดาและทารกอยู่ด้วยกัน (Rooming-in) และดูแลให้มารดาให้นม ทารกทุกครั้งที่ทารกต้องการอย่างสม่ำเสมอ
1.3. แนะนำให้มารดาให้นมบุตรเพียงอย่างเดียว โดยไม่ให้น้ำหรือนมผสมเพิ่ม
1.4. ดูแลได้พักผ่อนเต็มที่ขณะที่ทารกหลับ
1.5. ดูแลการรับประทานอาหารและน้ำอย่างเพียงพอ
2) นํ้านมมารดามีมาก มีการสร้างน้ำนมในปริมาณมากและเกินความ ต้องการของทารก เมื่อทารกดูดนมทำให้ทารกดูดนมไม่ ทัน และสำลัก ทารกจะโมโหและร้องไห้ทำให้มารดาเกิด ความวิตกกังวลในการเลี้ยงดูบุตร
การพยาบาล
การพยาบาล
2.1. แนะนำให้มารดาบีบน้ำนมออกบางส่วนแล้วจึงนำทารก มาดูด
2.2. แนะนำให้มารดาให้นมบุตรข้างเดียวในแต่ละมื้อเพื่อลดการ กระตุ้นการสร้างน้ำนมให้ ลดลง
3) เต้านมคัด (Breast engorgement เกิดจากการที่มารดาให้ทารกดูดนมช้าเกินไป หรือให้ ทารกดูดนมระยะห่างเกินไปทำให้ปฏิกิริยา Let down reflex เกิดขึ้นช้า เนื่องจากขาดการกระตุ้นจากการดูดนมของทารก ทำให้น้ำนมดั่งอยู่ในกระเปาะเก็บน้ำนม ถุงน้ำนมจะขยาย ใหญ่ขึ้นไปกดท่อน้ำนมที่อยู่รอบ ๆ เต้านมไม่ให้น้ำนมไหล จึงเกิดอาการคัดตึง บริเวณลานหัวนมจะโป่ง หัวนมจะถูก ดึงรั้งให้สั้น ทารกจึงดาบลานหัวนมลำบาก ซึ่งจะเกิดขึ้นใน วันที่ 1-2 หลังคลอด
การพยาบาล
3.1. แนะนำมารดานำเด็กไปดูดนมเร็วที่สุด
3.2. ใช้กระเป๋าน้ำแข็งหรือผ้าเย็นประคบ
3.3. Breast support
นวดเต้านม
3.5. ให้ยาแก้ปวด
3.6. ห้าม Pump น้ำนมออก
4) หัวนมแตก สาเหตุเกิดจากทารกดูดไม่ถูกวิธี
การพยาบาล
4.1. แนะนำให้มารดานำบุตรดูดนมข้างที่เจ็บน้อยกว่า เพื่อกระตุ้นให้เกิด Let down reflex
4.2. บีบน้ำนมออกเล็กน้อยแล้วทาบริเวณหัวนมและรอบ ๆ แล้วปล่อยให้ แห้งจะช่วยให้หายเร็วขึ้น
4.3. ถ้าหัวนมแตกรุนแรงอาจจำเป็นต้องใช้หัวนมปลอมครอบ ( nipple shield)
4.4. ถ้ามีอาการปวดหัวนมมากให้ยาบรรเทาปวดเพื่อให้มารดาสบายขึ้น
5) หัวนมสั้น หัวนมมารดาบางคนอาจจะสั้นหรือแบน จับได้ลำบาก และทารกให้ทารกดูดนมลำบาก
การพยาบาล
5.1. ก่อนที่จะนำทารกมาดูดนมแนะนำให้มารดาทำ Hoffman's maneuver ประมาณ 3-5 ครั้ง และดึงหัวนมขึ้นตรง ๆ และเบา 3-5 ครั้ง
5.2. แนะนำให้มารดานำทารกคาบหัวนมให้ลึกจนเหงือกกด บริเวณลานนม
5.3. อาจจะใช้ปทุมแก้วครอบหัวนมตลอดเวลาตั้งแต่ตรวจพบ
6) หัวนมบอดหรือบุ๋ม สาเหตุ เกิดจากสภาพทางกายวิภาคของหัวนมที่เป็นอยู่เดิม หรือเป็นมา ตั้งแต่เกิด หัวนมบอดหรือนุ่มพิจารณาจากการใช้มือรูดจากฐานเต้านมรูดจาก ลานหัวนมไปที่ปลายนม ถ้าหัวนมไม่ยื่นออกมาแสดงว่าหัวนมบอดหรือบุ๋ม
การพยาบาล
6.1. ช่วยเหลือมารดาในการเตรียมหัวนมตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ โดยแนะนําให้ Hoffman's exercise
6.2. ในกรณีที่ทารกไม่สามารถคาบหัวนมได้ จัดทําให้ทารกนอนอยู่ข้างลำตัวมารดา โดยใช้มือมารดาประคองเต้านมใว้
หากทารกดูดนมมารดาไม่พอกับความต้องการ แนะนำให้มารดาบีบน้ำนมใส่แก้ว และป้อนนมให้ทารกโดยวิธี cup feeding
6.4. ถ้าเต้านมคัดตึงควรประคบเต้านมด้วยน้ำอุ่นหรือบีบน้ำนมออกบางส่วนเป็นการ ทําให้เต้านมมีลักษณะอ่อนนุ่ม แล้วจึงจัดท่าทารกให้ดูดนมมารดาอย่างถูกวิธี
6.การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีภาวะเบี่ยงเบนทางสุขภาพ
ริดสีดวงทวารอักเสบ
ถ้ามีอาการริดสีดวงทวารหนักอยู่แล้ว ให้ประคบด้วยน้ำอุ่นหรือนั่งแช่ในน้ำอุ่นจะช่วยบรรเทาอาการอักเสบของริดสีดวงทวารได้
ท้องผูก
สําหรับแบบผ่าตัดคลอดอาจมีอาการท้องผูก อาจเกิดเพราะล่าไส้อาจจะคืนสภาพ ทํางานปกติได้ช้าอันเป็นผลเนื่องมากจากการผ่าตัดตัวยาบางชนิด ที่ใช้ระงับความ เจ็บปวดจากการคลอด อาจส่งผลให้มีอาการท้องผูกได้
ยาวิตามินที่มีส่วนผสมของธาตุเหล็กก็ทําให้เกิดอาการท้องผูกได้
ปัสสาวะลำบาก
หลังคลอด 8 ชั่วโมง มารดาควรถ่ายปัสสาวะได้เองแต่ในบางรายจะถ่ายปัสสาวะลำบากใน 1-2 วันแรกหลังคลอดเนื่องจากความตึงตัวของกล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะไม่มีก าสั่งหรือยืดมากเกินไปทําให้ปัสสาวะคั่ง หรือถ่ายลำาบาก พยาบาลต้องกระตุ้นให้ปัสสาวะ ถ้ากระตุ้นแล้วยังถ่ายเองไม่ได้ให้พิจารณาสวนปัสสาวะให้
Reactionary fever
สาเหตุ THIRTY & HUNGRY นอนพัก ดื่ม& สารนํ้าตามแผนการรักษาแพทย์หลังคลอดมารดาจะรู้สักกร ะหายนํ้ามากกว่าหิว หรืออยากรับประทานอาหาร ดูอาการของมารดาแต่ละรายส่วนใหญ่การคลอดทางช่องคล อดมักไม่มีข้อห้ามของน้ำดื่ม
After pain
อาการปวดมดลูกมากกว่าปกติอาการปวดมดลูกเกิดจากการหดตั วและคลายตัวของกล้ามเนื้อมดลูกมักเกิดในมารดาครรภ์หลังส่ว นในมารดาครรภ์แรกปกติจะไม่มีอาการปวดมดลูกเนื่องจากกล้า มณีน้อมดลูกยังมีความดันตัวสูงยกเว้นในรายที่มีการยืดขยายของมดลูกมาก
เจ็บแผลฝีเยับ
อาการปวดแผลฝีเย็บเกิดขึ้นเนื่องจากการติดหรือการฉีกขาดของกา รคลอด ดังนั้นในระยะแรกหลังคลอดมารดาควรสังเกตฝีเย็บอาจมีการบวมเลือด (HEMATOMA) อ้า การติดเช็ จะมีอาการปวด บวม แดง ร้อน มารดาควรกลับไปพบแพทย์
5.การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาทารกหลังคลอดและครอบครัว
Bonding & Attachment
มารดาจะค่อยๆสร้างความผูกพันระหว่างแม่และลูกขึ้น รู้สึกคุ้นเคย โดยให้ใกล้ชิดกันมากๆ
Reva Rubin
ระยะที่มีพฤติกรรมพึ่งพา (Taking-in Phase)
ระยะนี้อาจใช้เวลา 1-2 วัน เป็นระยะที่มารดาหลัง คลอดจะ มุ่งความสนใจไปที่ตนเอง และต้องการพึ่งพาผู้อื่นสูง สนใจแต่ความต้องการและความสุขสบายของตนเองมากกว่ าที่จะนึกถึงบุตร พฤติกรรมของมารดาอาจเฉื่อยชาไม่ค่อยเคลื่อนไหว ยอมรับการช่วยเหลือที่สนองความต้องการด้านร่างกายและ จิตใจ
ระยะพฤติกรรมระหว่างพึ่งพาและไม่พึ่งพา (Taking-Hold Phase)
ระยะนี้ใช้เวลาประมาณ 3-10 วัน มารดามีประสบการณ์มากขึ้นมีการปรับตัวกับชีวิตใหม่ ได้พักผ่อนเพียงพอและฟื้นจากการสูญเสียพลังงานในระย ะคลอดมารดาจะค่อยๆแข็งแรงขึ้นรู้สึกสบายพร้อมที่จะปรั บวิถีชีวิตของตนเองสนในตนเองน้อยลง และสนใจบุตรมากขึ้นมารดาจะพึ่งพาตนเองมากขึ้น
ระยะอิสระ (Interdependent phase หรือ Letting go phase)
เกิดหลังวันที่ 10 ของการคลอด มารดาจะเริ่มมีปฏิสัมพันธ์กับสังคมโดยในส่วนลึกของจิตใจยังห่วงใยบุตรตระหนักและยอมรับความจริงว่าทารกไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งข องร่างกายตนเองอีกต่อไปแล้วแต่แยกออกไปเป็นอีกบุคคล หนึ่ง ต้องทิ้งบทบาทเดิมทีเป็นอิสระไม่มีบุตรต้องคอยห่างระยะนี้ มารดาอาจรู้ กเสียใจหรือเครียดเล็กน้อยได้
การพยาบาล
ประคับประคองความรู้สิกของมารดา ให้คําปรึกษาช่วยให้มารดารู้สึกปลอดภัยและอบอุ่นในการเ ช้าสังคมและแสดงบทบาทมารดาอย่างเหมาะสม
Postpartum blue
จะพบในระยะ 3-4 วันแรกหลังคลอด นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ฮอร์โมนที่ลด ลงมากใน 3-5 วันแรกหลังคลอด
การพยาบาล
ให้ความมั่นใจกับมารดาหลังคลอดว่าอาการนี้เป็นกาวะปกติพบได้บ่อยและจะหายไปได้เอง
ให้ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับการดูแลทารกหรือให้ความช่วยเหลือใ นการดูแลทารก
สามีและครอบครัวต้องให้กําลังใจอยู่เป็นเพื่อน
การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตสังคม และบทบาทการเป็นมารดาหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตสังคม Blue
~ Postpartum blue ช่วง 2-3 วัน จะวิตกกังวล สับสน เกี่ยวกับ ตนเอง ลูก การแสดงออก อาจมีอาการ นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร ร้องไห้ง่าย เนื่องจาก ~ ตื่นเต้น กลัวการตั้งครรภ์ การคลอด
~ ร่างกายเปลี่ยนแปลง ที่ก่อให้เกิดความไม่สุขสบาย
~ อ่อนเพลียจากการคลอด จากสิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาลที่ทำให้ พักผ่อนได้น้อย
~ กังวลเกี่ยวกับการเลี้ยงดูลูก
~ กลัวการรักษา เนื่องจากไม่ทราบขั้นตอนในการปฏิบัติตัวว่าควรจะทำ อย่างไร
การปรับตัวของมารดามี 3 ระยะ
ระยะที่มีพฤติกรรมพึ่งพา (Taking-in Phase) ระยะนี้อาจใช้เวลา 1-2 วัน เป็นระยะที่มารดาหลังคลอด จะ มุ่งความสนใจไปที่ตนเอง และ ต้องการพึ่งพาผู้อื่นสูง สนใจแต่ ความต้องการและ ความสุขสบายของตนเองมากกว่าที่จะนึกถึง บุตร พฤติกรรมของมารดา อาจเฉื่อยชาไม่ค่อยเคลื่อนไหว ยอมรับการช่วยเหลือที่สนองความต้องการด้านร่างกายและจิตใจ
ระยะพฤติกรรมระหว่างพึ่งพาและไม่พึ่งพา (Taking-Hold Phase) ระยะนี้ใช้เวลาประมาณ 3- 10 วัน มารดามีประสบการณ์มากขึ้น มีการปรับตัวกับ ชีวิตใหม่ ได้พักผ่อนเพียงพอและฟื้นจากการสูญเสียพลังงานในระยะคลอด มารดาจะ ค่อยๆแข็งแรงขึ้น รู้สึกสบาย พร้อมที่จะปรับวิถีชีวิตของตนเอง สนในตนเองน้อยลง และสนใจบุตรมากขึ้น มารดาจะพึ่งพาตนเองมากขึ้น เริ่มดูแลตนเองและมักจะสนใจ การทำหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย การทำงานของลำไส้ และกระเพาะ ปัสสาวะ และสนใจเกี่ยวกับการให้นมบุตร ปริมาณและคุณภาพของน้ำนม ต้องการ เคลื่อนไหว เดิน นั่งเหมือนก่อนคลอด มีความกังวลและอดทน ถ้ามารดาสามารถ ควบคุมร่างกายของตนเองได้ดี จะมีความรับผิดชอบในการดูแลบุตรมาก กิจของการ เป็นมารดาในระยะแรกมีความสำคัญอย่างยิ่งถ้าทำได้สำเร็จ มารดาจะกระตือรือร้นใน การฟังคำแนะนำ มีความยินดีและผ่อนคลาย
ระยะพฤติกรรมระหว่างพึ่งพาและไม่พึ่งพา งพา (Taking-Hold Phase) แต่ถ้าล้มเหลว (เช่น การอุ้มเด็ก การให้นมบุตร การทำให้เรอ ฯลฯ ) จะทำให้มารดาผิดหวัง พยาบาลควรช่วยเหลือให้มารดาทำได้ใน ขอบเขตที่เหมาะสม ถ้ามารดาทำไม่ได้และมีแรงกดดันมารดาจะมี ความวิตกกังวล อาจมีอาการอ่อนเพลียเหนื่อยล้าตามมา เมื่อมารดา เริ่มยอมรับในบทบาทของตนเอง พยาบาลควรแนะนำเกี่ยวกับการ ดูแลตนเองและบุตร ระยะที่อยู่ในโรงพยาบาลมารดาต้องการกำลังใจ การสนับสนุนให้เกิดความมั่นใจว่าทำได้ถูกต้อง สามารดเป็นมารดา ที่ดีได้
การสร้างความผูกพัน ระหว่างแม่และลูก
มารดาจะค่อยๆสร้างความผูกพัน ระหว่างแม่และลูก ขึ้น รู้สึลึกซึ่ง และคุ้นเคย โดยให้ใกล้ชิดกันมากๆ
ระบบผิวหนัง Body condition
• ฝ้าบริเวณใบหน้า (Chloasma gravidarum) จะจางหายไป
• Areola ( ลานนม) จะเข้มขึ้น
• Linea nigra (เส้นกลางหน้าท้อง) จะเข้มขึ้น และหายไป ช่วงหลังคลอดได้
• ร่างกายขับน้ำออกทางผิวหนัง จำนวนมาก จะขับเหงื่อในเวลากลางคืน ตื่นมาเหงื่อท่วมตัว
การเปลี่ยนแปลงของระบบผิวหนัง
ผิวหนังของมารดาในระยะหลังคลอดที่มีการ เปลี่ยนแปลงเนื่องจากฮอร์โมนเอสโตรเจน และ โปรเจสเตอโรน ลดลง ทำให้บริเวณลานนม ตัวนม ต้นขาด้านใน เส้นกลาง หน้าท้อง ผิวบนใบหน้า ก็จะจางลงแต่จะไม่หายไป
สัปดาห์แรกหลังคลอด ผิวหนังจะขับน้ำออกมาในรูปของ เหงื่อ มักจะมีเหงื่อออกมากในตอนกลางคืน ซึ่งอาจรบกวน การนอน และอาจเป็นสาเหตุของอาการไม่สุขสบาย และอาการหนาวสั่น
หน้าท้อง(Abdominal Wall)
~ เพราะว่ายึดมากตอนท้อง การกลับสู่สภาพเดิมใช้ เวลานาน การออกกำลังกายช่วยให้เร็วขึ้น
~ อาจพบ รอยแตกของผิวหนังเป็นทางขวาง (Striae gravidarum) จะจางแต่ไม่หายไป
~ รอยแยกตัวของกล้ามเนื้อ Rectus (Diastasis Recti) ซึ่ง อยู่ตรงกลาง ลักษณะ หย่อน นุ่ม เพราะเสียความยืดหยุ่น เนื่องจากยืดขยายนาน
ระบบทางเดินอาหาร Bowel movement
เนื่องจาก เสียน้ำ ทางเหงื่อขณะคลอด ได้อาหารลดลง หรือ NPO, นอนพักบนเตียง อาจทำให้ท้องผูก บางรายกลัวเจ็บแผล ไม่เบ่ง การเปลี่ยนแปลงระบบทางเดินอาหารและ การเผาผลาญอาหาร
การรับประทานอาหาร มารดาหลัง คลอดมีความอยากรับประทานอาหารลดลง เนื่องจากความเหนื่อยอ่อนเพลียจากการ คลอด แต่อาจมีอาการกระหายน้ำมากเมื่อได้ พักผ่อนเต็มที่ แล้วจะมีความอยาก รับประทานอาหารมากขึ้น
การขับถ่ายอุจจาระ ระยะแรกหลังคลอดการ เคลื่อนไหวของลำไส้ลดลงจากผลของฮอร์โมน โป รเจสเตอโรนในขณะตั้งครรภ์ การสูญเสียน้ำและการ ถูกจำกัดอาหารในระหว่างการคลอด การได้รับการ สวนอุจจาระก่อนคลอด อีกทั้งยังเจ็บปวดบริเวณแผล ฝีเย็บและริดสีดวงทวาร ทำให้ไม่กล้าเบ่งถ่ายอุจจาระ มารดาหลังคลอดอาจมีภาวะท้องผูกได้ ประมาณ วันที่ 2-3 หลังคลอดจึงจะกลับสู่สภาวะปกติ
การเผาผลาญ หลังคลอดอาจเกิดภาวะอุณหภูมิ ร่างกายต่ำกว่าปกติ (Hypothermic reaction) ทำให้เกิด อาการหนาวสั่นหลังคลอด (Postpartum chill) ซึ่งอาการหนาวสั่นแต่ละครั้งนานไม่เกิน 15 นาที เนื่องจาก ความดันในช่องท้องลดลงทันที การตอบสนองต่อระบบประสาท ความเหนื่อยล้าจากการ คลอดและความไม่สมดุลของอุณหภูมิภายในและภายนอก ร่างกาย
ฮอร์โมน
: ภายหลัง 24 ชั่วโมงหลังคลอดฮอร์โมนจากรกจะ ลดลงอย่างรวดเร็ว ตรวจไม่พบฮอร์โมน HPL, HCS แต่ HCG จะมีระดับต่ำ : ภายใน 3 ชั่วโมงหลังคลอดฮอร์โมนเอสโตรเจน จะลดลงเรื่อย ๆ และจะลดลงต่ำสุดในวันที่ หลัง 7 คลอด : ประมาณ 1 สัปดาห์จะตรวจไม่พบโปรเจสเตอ โรนในซีรัม และจะผลิตใหม่อีกครั้งเมื่อมีการตกไข่ครั้งแรก
: ประมาณ 1 สัปดาห์จะตรวจไม่พบโปรเจสเตอ โรนในซีรัม และจะผลิตใหม่อีกครั้งเมื่อมีการตกไข่ครั้งแรก
ฮอร์โมนจากรก (Placental hormones) หลังคลอดระดับของฮอร์โมนจากรกใน พลาสมาจะ ลดลงอย่างรวดเร็วภายใน 24 ชั่วโมงหลังคลอดจะ ตรวจไม่พบ Human Placental Lactogen : HPL, Human Chorionic Somatomammotropin: HCS lla ประมาณปลายสัปดาห์แรกหลังคลอดระดับของ ฮอร์โมน Human Chorionic Gonadotropin : HCG จะ ลดลง ดังนั้นถ้าทดสอบปัสสาวะจึงได้ผลลบ
1.1. ฮอร์โมนจากรก (Placental hormones) ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน (Progesterone) ประมาณวันที่ 3 หลังคลอด และ1 สัปดาห์หลัง คลอดจะตรวจไม่พบในซีรั่ม และจะมีการผลิตใหม่ อีกครั้ง เมื่อมีการตกไข่ครั้งแรกหลังคลอด
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง (Pituitary hormones)
ตลอดระยะการตั้งครรภ์ระดับฮอร์โมน prolactin ในเลือดจะ เพิ่มขึ้น ภายหลังคลอดมารดาที่ไม่เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาระดับ prolactin จะลดลงเท่ากับระดับก่อนตั้งครรภ์ภายใน 2 สัปดาห์หลัง คลอด ในมารดาที่เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาการดูดนมของทารกจะทำ ให้ระดับ prolactin เพิ่มขึ้น โดยระดับของ prolactin ใน serum จะขึ้นอยู่ กับจำนวนครั้งที่บุตรดูดนมมารดาโดยค่าของ prolactin จะอยู่ในระดับ ปกติประมาณเดือนที่ 6 ระดับ prolactin จะยังสูงมากกว่า 1 ปี ถ้าให้ บุตรดูดนมมากกว่า 8 ครั้งต่อวัน
การเปลี่ยนแปลงของต่อมไร้ท่ออื่น ๆ การลดลงของ insulinase ซึ่งจะเป็นปัจจัยต่อต้านอินสุลิน (Anti insulin factors) ดังนั้นมารดาหลังคลอดจึงมีระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ ภายในสัปดาห์แรกหลังคลอด และมารดาหลังคลอดที่เป็นเบาหวานก็ ต้องการ insulin ตี๋าลง จะเห็นได้ว่าช่วงสัปดาห์แรกหลังคลอดเป็นช่วงระยะปรับเปลี่ยน ฮอร์โมน และฮอร์โมนต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเผาผลาญcarbohydrate ให้เข้า สู่ภาวะปกติ
3.1 การเปลี่ยนแปลงของต่อมไร้ท่ออื่น ๆ ต่อมไทรอยด์จะกลับสู่ภาวะปกติเหมือนตอนไม่ตั้งครรภ์ภายใน 6 สัปดาห์หลังคลอด ระดับของฮอร์โมน Corticosteroid ในพลาสมาก็จะลดลงสู่ระดับปกติ ในช่วงปลายสัปดาห์แรกหลังคลอด ระดับของฮอร์โมน Ranin และ Angiotensin II จะเข้าสู่ระดับ ปกติภายใน 2 ชั่วโมงหลังคลอด
ฮอร์โมน
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง
ระดับฮอร์โมน Prolactin ขึ้นอยู่กับการเลี้ยงดูบุตรด้วย นมมารดา ถ้ามารดาให้บุตรดูดนมวันละ 1-3 ครั้ง/วันจะ ทำให้ฮอร์โมน Prolactin จะคงอยู่ในกระแสเลือดระดับปกติ ถ้าให้บุตรดูดนมสม่ำเสมอมากกว่า 6 ครั้ง/วัน ระดับ ฮอร์โมน Prolactin จะสูงนานกว่า 1 ปี
ระดับฮอร์โมน Follicula stimulating hormone และ Lutinizing hormoneจะมีค่าต่ำลงในวันที่ 10-12 วันหลัง คลอด
น้ำหนัก Body condition
จะลดลง 5-8 Kgs เพราะว่า รก เด็ก น้ำหล่อเด็ก เสียเลือด ต่อมา จะลดลง 2-3 kgs หรือ มากกว่า ขึ้นกับ การออกกำลัง กาย อาหาร Breast feeding
ระบบเลือด
ภายใน 1 สัปดาห์หลังคลอด สารที่เป็น องค์ประกอบในการแข็งตัวของเลือด (Clotting factor) ยังคงมีค่าสูงอยู่ และจะลดลงสู่ระดับปกติใน 2-3 สัปดาห์หลังคลอด ซึ่งจะมีผลเสียถ้าไม่มีการ เคลื่อนไหว และร่วมกับสภาวะการติดเชื้อ หรือได้รับ ความซอกช้ำจากการคลอด ก็จะกระตุ้นให้เกิดหลอด เลือดอุดตัน (Thromboembolism) ได้ง่าย เช่น บริเวณขา ป้องกันโดยการเดิน หรือ การบริหาร
ฮีมาโตดริท และฮีโมโกลบิน ระยะ 3 วันแรกหลัง คลอดจะมีการสูญเสียปริมาณ พลาสมามากกว่าเซลล์ เม็ดเลือด จึงทำให้ Hct.เพิ่มขึ้นในวันที่ 3-7 หลังคลอด กลับสู่ระดับปกติประมาณ 4-5 สัปดาห์หลัง คลอด ในระยะหลังคลอด Hct ไม่ต่ำกว่า 30% Hb. ไม่ต่ำ กว่า 10 ร่วมด้วย gm % หากต่ำกว่านี้ต้องประเมินภาวะซีด
ในระยะหลังคลอด Hct ไม่ต่ำกว่า 30% Hb. ไม่ต่ำ กว่า 10 ร่วมด้วย gm % หากต่ำกว่านี้ต้องประเมินภาวะซีด
องค์ประกอบในการแข็งตัวของเลือด (Coagulation factors) ในขณะตั้งครรภ์มีค่าความเข้มข้นขององค์ประกอบในการแข็งตัวของ เลือด (Coagulation factor I, II, VII, VIII, IX, X) เพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะช่วย ควบคุมการเสียเลือดบริเวณแผลที่รกเกาะในโพรงมดลูก และจะลดลง ภายใน 2-3 วันหลังคลอด ยกเว้น Coagulation factor I จะยังคงเพิ่มในช่วง 7-10 วันหลังคลอด เพื่อช่วยควบคุมการเสีย เลือดจากแผลรกเกาะในโพรงมดลูก จากการเพิ่มขององค์ประกอบใน การแข็งตัวของและการทำงานเกี่ยวกับการละลายลิ่มเลือดลดลง ถ้า หากมีการติดเชื้อ ได้รับบาดเจ็บจากการคลอด หรือ ไม่มีการ เคลื่อนไหว จะเป็นปัจจัยส่งเสริมให้เกิดภาวะหลอดเลือดดำอุดตัน (Thromboembolism) ได้ง่าย
การคลอดทางช่องคลอดส่วนใหญ่จะเสียเลือดประมาณ 300-400 มิลลิลิตร และการคลอดโดยการผ่าตัดหน้าท้องจะเสีย เลือดประมาณ 500-1,000 มิลลิลิตร ดังนั้นการปรับตัวในระยะหลังคลอดต่อการสูญเสียเลือดจะมี การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยามารดาในระยะหลังคลอดมี 3 ประการ
การสิ้นสุดของการไหลเวียนเลือดระหว่างมดลูกกับรก
การสิ้นสุดของการผลิตฮอร์โมนจากรก ซึ่งเป็นการหยุดการ กระตุ้นให้หลอดเลือดขยาย
มีการเคลื่อนย้ายของน้ำนอกเส้นเลือดที่สะสมระหว่างการ ตั้งครรภ์กลับเข้าเส้นเลือด
การเปลี่ยนแปลงของระบบกล้ามเนื้อและโครงกระดูก
กล้ามเนื้อ 1-2 วันแรกมารดาหลังคลอดจะมีอาการ เมื่อยและปวดกล้ามเนื้อ เนื่องจากออกแรงเบ่งขณะคลอด และฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนลดลงหลังคลอด ส่วน กล้ามเนื้อหน้าท้องจะนุ่มหยุ่นไม่แข็งแรงและจะหน้าขึ้น บริเวณกลางท้อง บางรายอาจมีกล้ามเนื้อหน้าท้องแยก (Diastasis recti abdominis)
โครงกระดูก หลังคลอด 2-3 วันระดับฮอร์โมนรี แลกชิ้น ค่อยๆลดลง แต่ยังคงเจ็บปวดบริเวณตะโพกและ ข้อต่อ อาการปวดดังกล่าวจะเป็นชั่วคราวเท่านั้น ไม่ต้องใช้ ยารักษา
การเปลี่ยนแปลงของระบบประสาท
หญิงคลอดทางช่องคลอดอาจได้รับยาแก้ปวด หรือยาชา และภายใน 24 ชั่วโมงหลังคลอด จะ กลับสู่สภาพเดิมเมื่อฤทธิ์ยากูกเผาผลาญและ กำจัดออกจากร่างกาย
ความไม่สุขสบายที่เกิดขึ้น เช่น อาการปวด หลัง จะลดลงในช่วงหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงของระบบภูมิคุ้มกัน
ภาวะภูมิคุ้มกันต่อปฏิกิริยาการไม่เข้ากันของหมู่เลือด (Blood-type incompatibilities) นอกจากจะเกิดจาก Rh แอนติเจนแล้ว อาจเกิดจากหมู่เลือด ABO ด้วย ทำให้เกิด เม็ดเลือดแดงแตกในระดับเล็กน้อยจนถึงปานกลาง ทารก จะแสดงอาการตัวเหลืองภายใน 24 ชั่วโมงหลังคลอด