Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิด - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกแรกเกิด
6.4การประเมินการดูแลทารกแรกเกิดที่มีความผิดปกติเล็กน้อย
down syndrome
โครโมโซมคู่ที่ 21 มี 3 แท่ง
ป้องกันโดยการวินิจฉัยในระยะก่อนคลอด ครรภ์เสี่ยงคือมารดาที่มีอายุิ35 ปีขึ้นไป
Neonatal teeth หรือ pre deciduous teeth
ฟันที่ขึ้นเร็วมีสีขาวประกอบด้วยเคราติน เป็นส่วนใหญ่ สามารถจับโยกออกได้ง่าย
ภาวะแพ้น้ำตาล lactose intolerance
ร่างกายไม่สามารถย่อยน้ำตาลแคลโตสในนมได้
ควรให้ดื่มนมถั่วเหลืองแทนนมมารดา
ภาวะขี้เทาอุดตันลำไส้ meconium
impact
ไม่ดูดนม
อาเจียน
ท้องอืด โป่ง
น้ำตาไหล Dacryocystitis
เกิดจากการอุดตันของท่อน้ำตาทำให้มีน้ำตาคลออยู่ตลอดเวลาและมีขั้ตาแฉะ
ลิ้นติด tongue - tie
ลูกอัณฑะไม่ลงถุงอัณฑะ undescendedSucking defect
ไม่มีลูกอัณฑะในถุงอัณฑะ
ภาวะเท้าปุก
เท้าปุกเทียม postural clubfoot
เท้าปุกแท้ congenital clubfoot
Sucking defect
ดูแลให้ได้รับนมเพียงพอตามปัญหาที่พบ
ภาวะอุณหภูมิกายต่ำในทารกแรก เกิดsub temperature hypotyermia
อุณหภูมิที่วัดทางทวารหนักหรือรักแร้ ต่ำกว่า 36.5 องศาเซลเชียส
กลไกการสูญเสียความร้อน
การนำความร้อน
การพาความร้อน
การระเหยของน้ำ
การแผ่รังสี
6.2 การพยาบาลทารกแรกเกิดประจำวัน
ส่งเสริมทารกให้ได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
ป้องกันการติดเชื้อ
การสัมผัสการอุ้มการกอด
ทำความสะอาดร่างกาย
สังเกตอาการผิดปกติที่เปลี่ยนแปลง
จัดสถานที่
สูติบัติ
นัดติดตามผล
ส่งเสริมการพักผ่อน
กระตุ้นให้เล่นกลางวัน เพื่อให้กลางคืนมารดามีเวลาหลับมากขึ้น
การป้องกันภาวะแทรกซ้อน
Skin Peripheral , Lips, Cyanossis
Eyes, Crying
N/V สี กลิ่น
Swallowing,Stool,Urine
RR <40
Take note any changes
ส่งเสริมการได้รับสารอาหารและการขับถ่าย
LATCH
Type of nipple
น้ำนมมารดา 100 ml ให้พลังงาน 71 cal
ท่าในการให้นมทารก
น้ำหนักทารกลดลงไม่เกิน 10%
การขับถ่าย
2-3 วันแรกทารกจะน้ำหนักลดลงไม่เกิน 10%
การส่งเสริมความสะอาดของร่างกาย และความสุขสบายของทารก
การอาบน้ำสระผม
การทำความสะอาดหลังจากการอาบน้ำ สระผม
ส่งเสริมการได้รับภูมิคุ้มกัน
ไวรัสตับอักเสบบี
วิตตามิน K
วัณโรค
การพยาบาลทารก
ได้นม มารดาอย่างน้อย 9- 10 ครั้ง และ จับเรอลม เพือป้องกันท้องอืด
ประเมิน น้ำหนัก
ทำความสะอาดร่างกาย ตา สะดือ ภาวะแทรกซ้อนภายหลังอาบน้ำ
สัมพันธภาพ มารดา ทารก บิดา
Vital Sign qr 4 hr
ตรวจเลือด hormone
ช่วยมารดาและครอบครัว ภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
ดูแลความอบอุ่น การพักผ่อน
การพยาบาลในระยะแรกย้าย
ตรวจร่างกายและสัญญาณชีพ
ดูแลความอบอุ่นและความปลอดภัยของทารก
ตรวจสอบความถูกต้องของเพศ และป้ายข้อมือทารกทันทีแรกรับ
ดูแลความสะอาดและความสุขสบายของร่างกายทารก
ศึกษา Profle
ประเมินความสามารถในการดูดกลืน
ตรวจสอบการได้รับวิตามินเค
6.1การประเมินสภาพทารกแรกเกิด
ความสมบูรณ์ด้านกายภาพ
Breast
Eye/Ear
Plantar Surface
Genitals Male
Lanugo
Genitals Femal
Skin
Maturity Rating
ความสมบูรณ์ของกล้ามเนื้อและเส้นประสาท
Arm Recoil
Popliteal
Square Window
Scarf Sign
Heel to Ear
Posture
APGAR SCORE
Grimace
ไอ จาม ร้องให้ หลัง Suction (+2)
Activity
ยืดแขนขาออก งอกลับได้ (+2)
Pulse
=100(+2)
Respiration
ร้องให้ดัง หายใจเองสม่ำเสมอ (+2)
Appearance
ตัวแดงดี (+2)
7-10 Score
Good Condition
4-6 Score
High Risk
DR.VIRGINA APGAR
นาทีที่ 1
Asphyxia
นาทีที่ 5
Neurological System
Until stable
0-3 Score
Resuscitation/Emergency
การตรวจร่างกายในห้องคลอด
ความพิการแต่กำเนิ
สิ่งที่แสดงถึงโรคในเด็ก
ซีดหรือเขียว
อายุครรภ์ของทารก
การเตรียมการก่อนการตรวจร่างกาย
ด้าน ทารกแรกเกิด
ด้านผู้ตรวจ
ด้านสิ่งแวดล้อม และ สถานที่
ไม่มีลมพัดผ่าน
ไม่เปิดเครื่องปรับอากาศเย็นจนเกินไป
Neutral Thermal Environment 37 C
These factors might lead to hypothermi
ด้านอุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจร่างกาย
Complete Examination ใน 24 ชั่วโมง
ความสามารถของทารกในการปรับตัวเพื่ออยู่นอกครรภ์มารดา
ผลกระทบจากการคลอด ทำคลอด เช่น ยาระงับปวด ยาสลบที่มารดาได้รับ
ความพิการแต่กำเนิด
อาการผิดปกติต่างๆ ที่ปรากฎเมื่อแรกคลอด
6.3การให้ภูมิคุ้มกัน วัคซีนสำหรับทารก
วัคซีนที่ต้องได้รับทุกคนก่อนออกจากดรงพยาบาล
BCG
ครั้งเดียว 1-2 เดือน P.P
ข้อห้าม
HIV
Pregnancy
Immune decease
Acute illness
Infection/Burn
ยากดภูมิ
ID inj บนต้นแขนขวา 0.1 ml
คำแนะนำ
ห้ามใส่ยารักษาแผล ขณะหนองตุ่มหนองแตก
โดยใช้สำลีชุบน้ำสะอาด น้ำต้มสุก ชะล้างแผล
ห้ามเบ่ง แคะ บีบตุ่มหนอง
From Mycobacterium Bovis
HBV
ฉีด 3 ครั้ง 0-2-6 เดือน
เด็กคลอดจากมารดาที่เป็นพาหะไวรัส HBV
เพิ่ม HBIG สามารถฉีดพร้อมกันได้เลย HBIG+HBV
นัดติดตามอาการอีก 1 เดือน