Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
6. การพยาบาลทารกแรกเกิด - Coggle Diagram
6. การพยาบาลทารกแรกเกิด
6.1 การประเมินสภาพทารกแรกเกิด
1.การเปลี่ยนแปลงทางสรีระของทารกแรกเกิด
Adaptation of respiratory system
การที่ทารกเคลื่อนตัวผ่านช่องคลอดจะทําให้ทรวงอกของทารกถูกรีดบีบรัดและน้ําคร่ําที่อยู่ในปอดและทางเดินหายใจถูกรีดออกมาได้ประมาณ 35 มิลลิลิตร เมื่อทรวงอกขยายตัวอีกครั้งหนึ่ง อากาศภายนอกจะเข้าไปแทนที่ด้วยปริมาณที่เท่ากัน ภาวะ asphyxia เป็นสิ่งกระตุ้นการหายใจของทารกที่รุนแรงที่สุด
การหายใจ2- 3 ครั้งแรกต้องใช้แรงดันผ่านปอดมากถึง 30 -70 cm H2O ในเวลาไม่กี่นาทีต่อมา functional residual capacity เพิ่มขึ้นถึงค่าปกติคือ 30 ml/kgในขณะที่แรงดันในปอดลดลงมาก น้ําภายในปอดส่วนที่เหลือจะถูกดูดซึมผ่านทางท่อน้ําเหลืองและระบบหลอดเลือดฝอยอัตราหายใจปกติระหว่าง 30 -60 ครั้ง/นาที เฉลี่ย 40 ครั้ง/นาที
Thermal regulation and thermal adaptation
การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิร่างกายถูกควบคุมโดยสมองส่วน hypothalamus โดยการสร้างสมดุลย์ระหว่างการเพิ่มและการสูญเสียความร้อน
ภาวะ hypothermia เกิด ความเครียดทาง metabolic เลือดเป็นกรด เกิดภาวะhypoglycemiaได้ง่าย
heat loss
การพาความร้อน
การนําความร้อน
การแผ่รังสี
การระเหยของนํ้า
Adaptation of the cardiovascular system
การไหลเวียนโลหิตในครรภ์ (fetal circulation)
โลหิตแดงจากมารดาจะเข้าสู่ทารกทาง umbilical veinซึ่งเข้าสู่ตับและต้อเข้าสู่ inferior vena cava (IVC)ผ่านทาง ductus venosus,จากIVCโลหิตซึ่งส่วนใหญ่เป็นโลหิตแดงจะเข้าสู่ right atriumและเข้าสู่ left atriumผ่านทาง foramen ovale
อัตราการเต้นของหัวใจอยู่ในช่วง 100 –150 /นาที Pulse เฉลี่ย 140ครั้ง/นาที(140±20) อาจพบสูงถึง 180ครั้ง/นาที ใ น 4ชั่วโมง หลังคลอดหลังจากนั้นปกติ
หลังตัดสายสะดือ
left atrial pressureสูงขึ้น จากการหายใจ
umbilical blood flowลดลง= pressure ลด
rightและleft atriumลดลง= foramen ovaleclose
PaO2,pH=เพิ่มขึ้น , PaCO2= ลดลง ทําให้ductusarteriosusปิด
โรคหัวใจพิการแต่กําเนิด (Congenital heart defects)
กลุ่มที่ไม่มีอาการเขียว (Acyanotic)
พวกที่มีเลือดลัดวงจรจากซ้ายไปขวา (Left to right shunt)
พวกมีการตีบแคบ (Cyanotic lesion)
กลุ่มที่มีอาการเขียว (Cyanotic)
พวกที่มีเลือดไปปอดน้อยลง
พวกที่มีเลือดไปปอดมากขึ้น
ภาวะ hypothermia
ถึง ภาวะที่ core temperatureของร่างกายทารกต่ํากว่า 36 ํC จะทําให้ enzymes ที่เกี่ยวกับการหายใจระดับเซลล์หยุดทํางาน
ผลกระทบอย่างรุนแรงจากภาวะ hypothermia ด้วยเช่นระบบหายใจ, ระบบประสาทส่วนกลาง ไต และเกิดภาวะ sclerema (ผิวหนังแข็ง)ในที่สุด
Adaptation of fluid and electrolytes homeostasis
Water Metabolism
Sodium metabolism
Homeostasis
ความผิดปกติของสมดุลของน้ําและการรักษา
การประเมินทางคลินิก
Mild dehydrationถือว่ามีการขาดน้ําประมาณ 3-5 %ของน้ําหนักตัว
Moderate dehydration มีการขาดน้ําประมาณ 7 -10 %ของน้ําหนักตัว
Severe dehydrationขาดน้ํา > 10%ของน้ําหนักตัว ทารกจะมีinstability of vital signs มีการเปลี่ยนแปลงของระดับความรู้สึกตัวโดยทารกมักจะซึมลง
Calcium metabolism
Energy metabolism
Bilirubin metabolism and hyperbilirubinemia
ภาวะ hyperbilirubinemia คือภาวะที่มี bilirubinในเลือดสูงกว่า 3 mg%โดยปกติระดับ bilirubin สูงขึ้นในเวลา 3 - 4 วัน หลังคลอดโดยอาจจะสูงถึง8 mg% (120 mmol/l)และลดลงเหลือ 1.5 mg%ภายในระยะเวลา 10 วันเรียกภาวะนี้ว่า physiologic jaundice
อันตรายของภาวะ hyperbilirubinemia เกิดจากพิษของ unconjugated bilirubin ต่อเซลล์สมองทําให้เกิดภาวะ kernicterus
ภาวะตัวเหลืองมักพบในทารกที่มีการอุดกั้นบริเวณลําไส้เล็กส่วนต้นและพบเป็นแบบ indirect hyperbilirubinemia เกิดจากการเพิ่มขึ้นของวงจรหมุนเวียนน้ําดีระหว่างลําไส้เล็กกับตับ(entero hepatic circulation)ทําให้ urobilinogenถูกดูดซึมสู่กระแสเลือดมาก
Neonatal hematology and host defense mechanism
ภาวะ anemiaในทารก (Hct<40 %ในทารกคลอดครบกําหนด)เกิดได้จากสาเหตุ 3 ประการ
การเสียเลือด (blood loss)
การทําลายเม็ดเลือดแดง (hemolysis)
การลดการสร้างเม็ดเลือดแดง (decreased erythrocyte production)
Neonatal host defense mechanism
ภูมิคุ้มกันโรคในทารกแรกเกิดสามารถที่จะป้องกันการติดเชื้อทั่วๆไปได้
2. การประเมินภาวะสุขภาพทารกแรกเกิดทันที ลักษณะ ทารกแรกเกิด
ทารกแรกเกิด ( new born baby or neonatal) หมายถึง ทารกที่มีอายุตั้งแต่แรกคลอดพ้นครรภ์มารดา จนถึง 28 วันหลังคลอด
การดูแลที่สําคัญเมื่อศีรษะทารกโผล่พ้นช่องคลอดหรือพ้นทางหน้าท้อง
ดูดเมือก หรือน้ําคร่ําจากจมูก
จัดท่าให้ทารกนอนหงายศีรษะต่ํา ประมาณ 15-30 องศา ศีรษะเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง
ไม่ควรหิ้วเท้าทารกขึ้นห้อยศีรษะ ลงเพราะจะทําให้ทารกที่ขาดออกซิเจนอยู่แล้วเกิดภาวะเลือดออกในสมองได้ง่าย
การประเมินคะแนน APGAR
คะแนน 7-10 คะแนน หรือ 7 คะแนนขึ้นไป
ทารกอยู่ในสภาพปกติ
คะแนน 4-6 คะแนน
อาจมีซึมปานกลาง
คะแนน 0-3 คะแนน
เป็นสภาวะที่ไม่ดี ให้การช่วยเหลืออย่างรีบด่วน เพราะมักหายใจไม่ได้เลย
การตรวจร่างกายทารกแรกเกิดที่ครบถ้วนจากศีรษะถึงปลายเท้า (complete examination)
1.การตรวจร่างกายทารกภายใน 24 ชั่วโมงหลังเกิด
เมื่อทารกแรกเกิดมีอาการเจ็บป่วย
เมื่อทารกแรกเกิดมารับการตรวจสุขภาพ
การเตรียมการก่อนการตรวจร่างกาย
ด้านสิ่งแวดล้อม และสถานที่
ด้านทารกแรกเกิด
ด้านผู้ตรวจ
ด้านอุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจร่างกาย
การตรวจอายุครรภ์ (gestational age)โดยวิธี Ballard Maturational Score
ส่วนที่ 1 การประเมินความสมบูรณ์ด้านกายภาพ (physical maturity)
ส่วนที่ 2 การประเมินความสมบูรณ์ของกล้ามเนื้อและประสาท (Neuromuscular maturity)
6.2 การพยาบาลทารกแรกกิดประจำวัน
การส่งเสริมความสะอาดของร่างกายและความสุขสบายของทารก
โดยการอาบน้ํา หรือเช็ดตัว และสระผมให้ทารกทุกวันวันละ 1ครั้ง เพื่อให้ร่างกายสะอาด
การส่งเสริมการได้รับสารอาหารและการขับถ่าย
ความต้องการสารอาหารของทารกคือ ทารกแรกเกิดต้องการน้ําประมาณวันละ 100-200 มิลลิกรัมต่อน้ําหนักตัว 1 กิโลกรัมเพื่อช่วยในขบวนการเผาผลาญของร่างกาย ทารกจะใช้พลังงาน45-50 แคลอรี่ต่อน้ําหนักตัว 1 กิโลกรัม
3.การส่งเสริมการพักผ่อน
ทารกภายหลังอาบน้ําและได้รับนมมารดาแล้วจะหลับได้นาน ทารกบางรายอาจนอนในช่วงกลางวันและตื่นกลางคืน ทําให้มารดาพักผ่อนได้น้อย พยาบาลควรแนะนําให้มารดาให้นมในกลาวงวันทุก 2-3 ชั่วโมงและปลุกให้ทารก
4.การส่งเสริมการได้รับภูมิคุ้มกันโรค
ทารกก่อนออกจากโรงพยาบาลควรได้รับวัคซีนตามปกติ คือวัคซีนป้องกันวัณโรคและป้องกันไวรัสตับอักเสบบี
5.การป้อกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
ทารกควรได้รับการดูแลและปลอดภัยจากอาการเปลี่ยนแปลงที่ผิดปกติ
6.ส่งเสริมทารกให้ได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
พยาบาลควรแนะนําบิดามารดา เพื่อให้ดูแลทารกและประเมินความผิดปกติได้ถูกต้อง
การปฏิบัติการพยาบาลทารกในระยะหลังคลอด
1.ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการตั้งครรภ์ การคลอด และภาวะเสี่ยงต่างๆที่อาจมีผลต่อทารกและการส่งต่อข้อมูล
2.ตรวจสอบความถูกต้องของเพศและป้ายข้อมือทารกทันทีแรกรับ
3.ตรวจร่างกายและสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
4.ดูแลความอบอุ่นและความปลอดภัยของทารกตลอดเวลา
5.ดูแลความสะอาดและความสุขสบายของร่างกายทารก
6.ประมินความสามารถในการดูดกลืน
7.ดูแลเรื่องการขับถ่ายของทารก
8.ตรวจสอบการได้รับวิตามินเค และดูแลให้ได้รับวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบีเข็มที่ 1
9.จดบันทึกปัญหาและกิจกรรมทางการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาลทารกประจําวัน
1.ประเมินสัญญาณชีพและตรวจร่างกายเพื่อประเมินภาวะแทรกซ้อนทุก 4 ชั่วโมง
2.ดูแลความอบอุ่นและความสุขสบาย และการพักผ่อนของทารกตลอดเวลา
3.ทําความสะอาดร่างกาย ตา สะดือ และสังเกตภาวะแทรกซ้อนวันละครั้งภายหลังการอาบน้ํา
8.ดูแลให้ทารกได้รับการตรวจเลือดเพื่อคัดกรองภาวะพร่องฮอร์โมน
4.ดูแลการขับถ่ายและดูแลความสะอาดหลังการขับถ่ายทุกครั้ง
5.ดูแลให้ได้รับนมมารดาอย่างน้อยวันละ9-10ครั้งและจับเรอลม
6.ประเมินการเปลี่ยนแปลงน้ําหนักตัวของทารกเพื่อค้นหาภาวะผิดปกติวันละครั้ง
7.ส่งเสริมสัมพันธภาพกับมารดา บิดา และครอบครัว
10.จดบันทึกปัญหาและกิจกรรมทางการพยาบาล
9.ได้รับการช่วยเหลือและแก้ไขแนะนํามารดาและครอบครัว
เพื่อให้ทารกได้รับความสุขสบาย ได้รับสารอาหารจากนมมารดาอย่างเพียงพอ และป้องกันภาวะผิดปกติต่างๆที่อาจเกิดขึ้นได้
6.3 การให้ภูมิคุ้มกันวัคซีนสำหรับทารกแรกเกิดและการป้องกันภาวะแทรกซ้อน
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค(Immunization)
การฉีดวัคซีน คือ การฉีดเชื้อโรคชนิดนั้นเข้าสู่ร่างกาย
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน แบ่งออกได้เป็น 2 วิธี
1) การให้ภูมิคุ้มกันจากคน หรือ สัตว์ที่สร้างมาก่อนแล้ว (passiveimmunization) ได้แก่ เซรุ่มแก้พิษงู เซรุ่มแก้พิษสุนัขบ้า
2) การกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันเอง (active immunization) ได้แก่ วัคซีนป้องกันหัดเยอรมัน วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่
ชนิดของวัคซีน วัคซีนแบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด
1) ท็อกซอยด์ (toxoids) เป็นวัคซีนที่ได้จากการนําเชื้อโรคมาทําลายความเป็นพิษให้หมดไป
2) วัคซีนชนิดเชื้อตาย (killed vaccine)เป็นวัคซีนที่ได้จากการนําเชื้อโรคมาทําให้ตาย
3) วัคซีนชนิดเชื้อเป็น (live attenuated vaccine)เป็นวัคซีนที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเพิ่มจํานวนเชื้อโรค แล้วนําเชื้อโรคมาทําให้อ่อนแรงลง
วิธีการให้วัคซีน
1) การรับประทาน
2) การพ่นเข้าทางจมูก
3) การฉีดเข้าในชั้นผิวหนัง
4) การฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
5) การฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
วัคซีนที่ทารกแรกเกิดทุกคนต้องได้รับก่อนจําหน่ายออกจากโรงพยาบาล
BCG: Bacillus Calmette Guerin(วัคซีนป้องกันวัณโรค)
ฉีดเข้าในผิวหนัง (ID:intradermal ) ผิวหนังบริเวณกล้ามเนื้อส่วนบนของต้นแขนขวา(Deltoid muscle)ขนาด 0.1 มล.
2.HBV: HepatitisB Vaccineวัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบ บี
-เด็กแรกเกิด ฉีดครั้งละ 0.5 มิลลิลิตรเข้ากล้ามเนื้อบริเวณต้นขานอก (Vastus lateralis muscle)
-เด็กแรกเกิด-10 ปี ฉีดครั้งละ 0.5 มิลลิลิตรเข้ากล้ามเนื้อบริเวณต้นขา นอกหรือกล้ามเนื้อต้นแขน
-เด็กอายุเกิน 10 ปี-ผู้ใหญ่ฉีดครั้งละ 1 มิลลิลิตรเข้ากล้ามเนื้อต้นแขน ไม่ควรฉีดที่สะโพก เพราะอาจฉีดเข้าในชั้นไขมันใต้ผิวหนัง
-การฉีดวัคซีนครั้งที่ 2 ให้ห่างจากการฉีดครั้งแรก 1-2 เดือน
-การฉีดวัคซีนครั้งที่ 3 ให้ห่างจากการฉีดครั้งแรก 6 เดือน
6.4 การประเมินและการดูแลทารกแรกเกิดที่มีความผิดปกติเล็กน้อย
1)Clubfoot:เท้าปุก
2.เท้าปุกเทียม(Postural Clubfoot)ไม่มีความผิดปกติของโครงสร้างเท้าเกิดจากการขดตัวอยู่ในครรภ์มารดา โดยเท้าบิดเข้าด้านในเป็นเวลานาน
การรักษาโรคเท้าปุก
การรักษาในเด็กแรกคลอด คือการดัดเท้าให้กลับคืนสู่รูปร่างที่ปกติและควบคุมด้วยเผือกทําการดัดและเปลี่ยนเฝือกทุก ๆสัปดาห์จนได้รูปร่างที่ปกติแล้วตามด้วยการใส่รองเท้าพิเศษตลอดเวลาอีก2 เดือน และใส่เฉพาะเวลากลางคืนจนอายุ4-5 ขวบ
1.เท้าปุกแท้(Congenital Clubfoot)แบบที่เท้าของเด็กมีลักษณะแข็งไม่สามารถดัดให้กลับมาอยู่ในรูปร่างปกติได้มีความผิดปกติของโครงสร้างเท้า เท้าแข็งรักษายากกว่าเท้าปุกเทียม
2).Tongue-tieลิ้นติด
เป็นภาวะผิดปกติแต่กําเนิดในช่องปาก ของเนื้อเยื่อที่ยึดเกาะใต้ลิ้นกับพื้นล่างของช่องปาก(lingual frenulum) สั้นและหนาตัว
วิธีการรักษาโดยการผ่าตัด (Frenotomy )
อาการแสดง
ลูกแลบลิ้นได้ไม่พ้นริมฝีปากหรือเหงือกบน
ไม่สามารถกระดกปลายลิ้นขึ้นไปสัมผัสเพดานปากได้
ไม่สามารถเคลื่อนไหวลิ้นไปด้านข้างได้
ปลายลิ้นอาจเป็นร่องหยักเข้ามา หรือเป็นรูปหัวใจ
3).ภาวะขี้เทาอุดตันลําไส้ (meconium impact)
ภาวะอุจจาระอัดแน่น (Fecal impaction) เป็นภาวะที่มีอุจจาระสะสมอัดแน่นอยู่ในrectum หรือ sigmoid
การรักษา
การสวนระบายอุจจาระ (rectal irrigation)
การผ่าตัดเปิด colostomy
4).Lactose intolerance ภาวะพร่องเอนไซม์ย่อยนม, ภาวะพร่องแล็กเทสหรือภาวะแพ้น้ําตาลแลคโตส
แพ้น้ําตาลแลคโตส หรือ Lactose Intoleranceเป็นภาวะที่ร่างกายไม่สามารถย่อยน้ําตาลแลคโตสในนมได้ทําให้จุลินทรีย์ในทางเดินอาหารนําน้ําตาลนี้ไปใช้ เกิดการสร้างกรดและแก๊ส
สาเหตุของการแพ้น้ําตาลแลคโตส
ภาวะพร่องเอนไซม์แลคเตส (Primary lactase Intolerance)
ภาวะขาดเอนไซม์ตั้งแต่เกิด (Congenital lactase deficiency)
ภาวะขาดเอนไซม์จากการเจ็บป่วย (Secondary lactose intolerance)
อาการ
แน่นท้อง ท้องอืด
ท้องเสีย ถ่ายเหลว
คลื่นไส้ อาเจียน
5).Down’s syndrome
กิดจากความผิดปกติของการลด จํานวนของโครโมโซม คือ การมีโครโมโซมเกินไป 1 แท่ง คือ โครโมโซมคู่ที่ 21 มี 3แท่ง (แทนที่จะมี 2 แท่งตามปกติ)
การพยาบาล
1.การยอมรับความจริงของครอบครัวต่อสภาพของเด็ก
2.ให้ความรู้เกี่ยวกับตัวเด็กแก่ครอบครัว
3.การอบรมเด็กปัญญาอ่อนแบ่งตามขั้นตอนของสติปัญญาของแต่ละบุคคล
4.การฟื้นฟูสมรรถภาพ เด็กควรได้รับการฟื้นฟูให้เร็วที่สุดโดยการกระตุ้นพัฒนาการทุกด้าน
5.การคุมกําเนิดแบบถาวร
.แนะนําแหล่งขอความช่วยเหลือ
7.ป้องกันการเกิดซ้ําในครอบครัว
6).Neonatal teethฟันงอก
Pre-DeciduousTeethหรือNeonatal Teethมีสีขาวประกอบด้วยเคราตินเป็นส่วนใหญ่ สามารถจับโยกออกได้ง่ายทารกบางคนเกิดมาพร้อมกับมีฟันซี่เล็ก ๆ 1 หรือ 2 ซี่ ส่วนใหญ่มักพบตรงกลางสันเหงือกด้านหน้าของกระดูกขากรรไกรล่าง
การดูแล
ใช้ผ้ากอซหุ้มรอบๆ หัวนม ในขณะให้นมลูก วิธีที่ดีที่สุดคือ ถอนฟันที่ขึ้นมา
14ตอนแรกเกิดนั้นออกเสียตามปกติเมื่อทารกอายุ 1 วัน
7).Subtemperature:hypothermiaภาวะอุณหภูมิกายต่ําในทารกแรกเกิด
หมายถึงอุณหภูมิที่วัดทางทวารหนักหรือรักแร้ต่ํากว่า36.5องศาเซลเซียสหรือที่วัดจากผิวหนังของลําตัวต่ํากว่า36องศาเซลเซียส
อาการที่พบ
ทางเดินอาหาร: อาเจียนท้องอืด
ประสาท: ซึมดูดนมช้าหรือดูดนมน้อยลงมีชักจากน้ําตาลในเลือดต่ําหรือเลือดออกในสมอง
ปอด: หากมีภาวะอุณหภูมิกายต่ําภายหลังคลอดทันทีทารกอาจมีหายใจเร็ว หายใจลำบาก
ปัสสาวะ: ถ่ายปัสสาวะน้อยและภาวะไตวาย
ทารกที่มีอุณหภูมิกายต่ํารุนแรงและเป็นอยู่นานอัตราตายพบประมาณร้อยละ25-50 จากเลือดออกในปอดหรือสมอง
8).sucking defect
ทารกจะมีการดูดเป็นเมื่ออายุครรภ์ได้28สัปดาห์ แต่การดูดกลืนจะเริ่มที่ 33 สัปดาห์และจะสามารถดูดกลืนได้เต็มที่เมื่ออายุ 36 สัปดาห์ โดยจะดูดหัวนมด้วยอัตรา 2 ครั้งต่อวินาที
การป้องกันให้ถูกวิธี
ควรให้ลูกได้รับนมแม่เพียงอย่างเดียวในช่วง 6 เดือนแรกที่สําคัญ
เลือกประเภทอาหารที่เหมาะกับวัย
ของเล่นชิ้นเล็กชิ้นน้อย
จับลูกเรอทุกครั้งหลังที่กินนมเสร็จ
9).undescended testis
สาเหตุของ undescended testesอาจเป็นจาก
1)ความผิดปกติทางกายวิภาคของผนังหน้าท้องส่วนล่าง
2) primary endocrine disorder
3) idiopathic(ไม่สามารถหาสาเหตุได้)
ประเภทของการไม่พบอัณฑะในถุง
1.retractile testes
2.ectopic testes
3.monorchia
4.true undescended testes
การรักษาด้วยฮอร์โมนและการผ่าตัด
10.Neonatal Jaundice ตัวเหลือง
ารสร้างconjugatebilirubinที่ตับและการขับbilirubinออกทางลําไส้ในทารกแรกเกิดที่ช้ากว่าปกติเป็นสิ่งสําคัญที่ทําให้เด็กเกิดภาวะตัวเหลือง
สาเหตุที่ทําให้เด็กตัวเหลือง
1.ภาวะเม็ดเลือดแดงแตกปกติในทารกแรกเกิด
2.มีการทําลายเม็ดเลือดแดงมากกว่าปกติ
3.การทํางานของตับยังไม่สมบูรณ์
4.ความผิดปกติที่ลําไส้
การรักษา
1.ใช้แสงบําบัด หรือการรักษาโดยการส่องไฟ
2.ถ่ายเปลี่ยนเลือด
11).น้ำตาไหลหรือภาวะท่อน้ําตาอุดตัน(Dacryostenosis
)
กิดจากส่วนปลายของท่อทางเดินน้ําตาในโพรงจมูกตีบตัน
อาการที่เห็นชัด
ข้างตานั้นจะมีน้ําตาคลอตาตลอดเวลา เหมือนคนร้องไห้ใหม่ ๆบางรายอาจจะมีการอักเสบ และจะมีขี้ตาแฉะร่วมด้วย
วิธีการรักษา
การใส่เครื่องมือเพื่อไปขยายบริเวณที่ตีบตัน
ผ่าตัดเพื่อต่อท่อน้ําต
นางสาวธนาภรณ์ สุพิทักษ์ 64019518