Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นาฏศิลป์ไทยยุคแรก, Screenshot (63), ที่มา : กรมศิลปากร, Screenshot (64),…
นาฏศิลป์ไทยยุคแรก
สมัยอยุธยา
มีการแสดงละครชาตรี ละครนอก ละครใน แต่เดิม ที่เล่นเป็นละครเร่ จะแสดงตามพื้นที่ว่างโดยไม่ต้องมีโรงละคร เรียกว่า ละครชาตรี ต่อมาได้มีการวิวัฒนาการ เป็นละครรำ เรียกว่า ละครใน ละครนอก โดยปรับปรุงรูปแบบ ให้มีการแต่งการที่ประณีตงดงามมากขึ้น มีดนตรีและบทร้อง และมีการสร้างโรงแสดง
ละครในแสดงในพระราชวัง จะใช้ผู้หญิงล้วน ห้ามไม่ให้ชาวบ้านเล่น เรื่องที่นิยมมาแสดงมี 3 เรื่องคือ อิเหนา รามเกียรติ์ อุณรุท ส่วนละครนอก ชาวบ้านจะแสดง ใช้ผู้ชายล้วนดำเนินเรื่องอย่างรวดเร็ว
สมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 เป็นสมัยที่โขนเจริญรุ่งเรื่องเป็นอย่างมาก
-
ละครนอก เป็นละครที่ชาวบ้านจัดแสดงนอกเขตพระราชฐาน ผู้แสดงจะเป็นชายล้วน ดำเนินเรื่องอย่างรวดเร็วและได้มีการสอดแทรกบทจลกในเรื่องด้วย
ละครใน แสดงในพระราชวัง ผู้แสดงเป็นผู้หญิงล้วน โดยมีพระราชกำหนดห้ามมิให้ชาวบ้านเล่น เรื่องที่นิยมนำมาแสดงมี 3 เรื่อง คือ อิเหนารามเกียรติ์ อุณรุท
สมัยสุโขทัย
ในสมัยนี้ไม่มีหลักฐานเกี่ยวกับการละครมากนัก แต่จะเป็นการแสดงที่เน้นหนักไปทาง
ศิลปะแห่งการละเล ่นพื้นเมืองประเภทรำและระบำมากกว่า และได้มีการกำหนดแบบแผนของโขน
ละคร และฟ้อนรำขึ้น การแสดงละครที่สันนิษฐานว่ามีในสมัยนี้คือเรื่องมโนราห์และเกิดละครแก้บน
ในสมัยนี้ด้วย
-
การแสดงในสมัยสุโขทัย
ระบำสุโขทัย พบในระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๘ – ๒๐ เป็นยุคสมัยที่ชนชาติไทย เริ่มสร้างสรรค์ศิลปะด้านนาฏศิลป์ และดนตรีในเป็นสมบัติประจำชาติ โดยอาศัยหลักฐานอ้างอิงที่กล่าวไว้ในเอกสาร และหลักศิลาจารึก การแต่งทำนอง กระบวนท่ารำ และเครื่องแต่งกาย ประดิษฐ์ขึ้นให้มีลักษณะที่อ่อนช้อยงดงาม ตามแบบอย่างของศิลปะสมัยสุโขทัย
ระบำเทวีศรีสัชนาลัย ท่ารำได้ประดิษฐ์ขึ้นโดยอาศัยจากหลักฐานทางโบราณคดีที่สำคัญจากอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัยท่ารำได้ประดิษฐ์ขึ้นโดยอาศัยจากหลักฐานทางโบราณคดีที่สำคัญจากอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย
ระบำเทววารีศรีเมืองบางขลัง
ลักษณะท่ารำ อ.มงคล อินมา ได้จินตนาการมาจากเหล่าอัปสรเทวดานางฟ้าทั้ง 7 วัน (จึงใช้ผู้แสดง 7 คน) อิงแอบกับความสำคัญของลำน้ำฝากระดานเสมือนเส้นเลือดใหญ่ที่หล่อเลี้ยงผู้คนในชุมชน ที่มาคอยปกปักรักษาโบราณสถานเอาไว้จนกว่าจะมีผู้มีบุญมาพบ ถ่ายทอดความรู้สึกสู่จินตนาการ
สมัยธนบุรี
การละครในสมัยกรุงธนบุรี มีละครร าของหลวงที่มีทั้งผู้หญิงและผู้ชายแสดง สมัยนี้เป็นช่วงต่อเนื่องจากที่กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าเมื่อปี พ.ศ. 2310 เหล่าศิลปินได้กระจัดกระจายไปในที่ต่าง ๆ เพราะผลจากสงคราม บางส่วนก็เสียชีวิต บางส่วนก็ถูกกวาดต้องไปอยู่พม่า ครั้งพระเจ้ากรุงธนบุรีได้ปราบได้ภิเษกไป ซึ่งในพ.ศ. 2311 ทรงได้พื้นฟูการละครขึ้นใหม่และรวมศิลปินตลอดทั้ง
บทละครเก่า ๆ ที่กระจัดกระจายให้เข้ามาอยู่รวมกันตลอดจนพระองค์ได้ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ขึ้นอีก 5 ตอน คือ หนุมานเกี้ยวนางวานริน ตอนท้าวมาลีราชว่าความ ตอนทศกัณฑ์ตั้งพิธีทรายกลด (เผารูปเทวดา) ตอนพระลักษณ์ถูกหอกกบิลพัท ตอนปล่อยม้าอุปการ มีคณะละครหลวง และเอกชนเกิดขึ้นหลายโรง เช่น ละคร หลวงวิชิตณรงค์ ละครไทยหมื่นเสนาะภูบาล หมื่นโวหารภิรมย์ นอกจากละครไทยแล้วยังมีละครเขมรของ หลวงวาทีอีกด้วย
-
-
สมัยน่านเจ้า
สมัยน่านเจ้า การศึกษาเรื่องการละคร และนาฏศิลป์ไทยในสมัยนี้ พบว่า ไทยมีนิยายเรื่องหนึ่ง คือ เรื่อง มโนห์รา ซึ่งปัจจุบันนี้ก็ยังมีอยู่ในประเทศจีนตอนใต้ในอาณาจักรน่านเจ้าเดิมนั่นเอง นิยายเรื่องนั้น คือ นามาโนห์รา เป็นนิยายของพวกไต พวกไตคือไทยเรานี่เอง แต่เป็นพวกที่ไม่อพยพลงมาจากดินแดนเดิม เรื่องนามาโนห์รานี้จะนำมาเล่นเป็นละครหรือไม่นั้นยังไม่มีหลักฐานปรากฎเด่นชัด ส่วนการละเล่นของไทยน่านเจ้านั้นมีพวกระบำอยู่แล้ว คือ ระบำหมวก และระบำนกยูง
มโนราห์มีแม่บทท่ารำอย่างเดียวกับละครชาตรี บทร้องเป็นกลอนสด ผู้ขับร้องต้องใช้ปฏิภาณไหวพริบ สรรหาคำให้สัมผัสกันได้อย่างฉับไว มีความหมายทั้งบทร้อง ท่ารำและเครื่องแต่งกายเครื่องดนตรีประกอบด้วย กลอง ทับคู่ ฉิ่งโหม่ง ปี่นอก หรือ ปี่ใน และกรับ ปัจจุบันพัฒนาเอาเครื่องดนตรีสากลเข้าร่วมด้วย เดิมนิยมใช้ผู้ชายล้วนแสดง แต่ปัจจุบันมีผู้หญิงเข้าไปแสดงด้วย
นาฏศิลป์ไทย เป็นศิลปะประจำชาติที่มีวิวัฒนาการมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบัน และมีเอกลักษณ์แตกต่างกันไปตามยุคสมัย จนกระทั้งพัฒนามาเป็นนาฏศิลป์ระดับมาตรฐานที่มีแบบแผน และเป็นเอกลักษณ์ของไทย
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-