Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาความผิดปกติของการขับถ่ายปัสสาวะ, นางสาว ณัฐกานต์…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาความผิดปกติของการขับถ่ายปัสสาวะ
การติดเชื้อและการอักเสบ
Urinary Tract Infection
มักมีสาเหตุมาจากแบคทีเรียและปัจจัยที่เป็นเหตุส่งเสริม
ปัจจัยเสี่ยง :โครงสร้างผิดปกติ
การตรวจพบ
ท่อตีบตัน (stricture)
การเชื่อมต่อระหว่างท่อไตกับกระเพาะปัสสาวะผิดปกติ
(ureterovesical)
ปัจจัยเสี่ยง : เพศหญิง (female)
ทางเดินปัสสาวะสั้น
ปัจจัยเสี่ยง :การอุดกั้น (obstruction)
การตรวจพบ
ก้อนเนื้อ (tumors)
ต่อมลูกหมากโต (prostatic hypertrophy)
ก้อนนิ่ว (calculi)
ปัจจัยเสี่ยง :ความผิดปกติของกระเพาะปัสสาวะ
การตรวจพบ
มีความผิดปกติของเส้นประสาทแต่กำเนิด
เส้นประสาทถูกทำลาย
หลอดเลือดแข็งตัวหลายตำแหน่ง (multiple sclerosis)
ปัจจัยเสี่ยง :chronic disease
การตรวจพบ
เก๊าท์ (gout)
เบาหวาน (Diabetes mellitus)
ความดันโลหิตสูง (Hypertension)
โรคโลหิตจาง ชนิด sickle cell
ไตวายเรื้อรัง
ปัจจัยเสี่ยง :อุปกรณ์ทางการแพทย์
การตรวจพบ
การสวน (catheterization)
การวินิจฉัยต่าง ๆ : การส่องกล้อง cystoscope
ท่อปัสสาวะอักเสบ (Urethritis)
อาการแสดง
ปวดแสบเวลาปัสสาวะ,บวมแดงของ labial tissue, urethra มีสีแดงจัด แต่ไม่มี discharge
ผลตรวจปัสสาวะจะพบมี pus.
การรักษา : ยาปฏิชีวนะ (antibiotic)
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis)
สาเหตุจากการติดเชื้อแบคทีเรีย E. Coli
อาการแสดง
ปวดแสบขณะถ่ายปัสสาวะ
ปัสสาวะบ่อย อาจกลั้นไม่ได้
ปวดบริเวณหัวเหน่า
ปัสสาวะขุ่นหรือสีแดงจากการมี R.B.C., W.B.C.
การรักษา: กระตุ้นการดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 3 ลิตร และการให้ยาปฏิชีวนะ
กรวยไตอักเสบ (Pyelonephritis)
Acute pyelonephritis
อาการ
มีไข้สูง หนาวสั่น ปวดสีข้างบริเวณ costovertebral angel (flank)
บริเวณหัวเหน่า พบบ่อยในผู้ป่วยเบาหวาน
Chronic pyelonephritis
การอักเสบเฉียบพลันซ้ำ ๆ
การรักษา
ยาปฏิชีวนะ โดยใช้ผล bacteria sensitive ให้โดยทันทีและมีการตรวจติดตาม
ยาต้านการหดเกร็งของกระเพาะปัสสาวะ
การให้สารน้ำอย่างเพียงพอ
กำจัดสาเหตุการติดเชื้อ เช่น การอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ
การรักษาตามอาการ กรณีติดเชื้อเรื้อรัง
Perinephric abscess
อาการแสดง
ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงและถ่ายภาพรังสีคอมพิวเตอร์ บอกตำแหน่งฝี
ฝีรอบไตมักจะเกิดจากการแตกของฝีในไตออกมาในบริเวณช่องว่างรอบไตและอาจเป็นผลจากการติดเชื้อรอบๆไต
การรักษา : การผ่าตัดระบาย อาจเป็นท่อระบายหรือการผ่าตัดเปิด และยาปฏิชีวนะ
Glomerulonephritis
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Beta-streptococcus group A จากต่อมทอนซิลอักเสบ แผลอักเสบพุพองผิวหนัง
อาการ : บวมที่หน้า หนังตา เท้า และท้อง ปวดศีรษะ มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ถ้าเป็นรุนแรง อาจมีอาการหอบเหนื่อย หรือชัก
การอุดกั้นของระบบทางเดินปัสสาวะ
นิ่วในทางเดินปัสสาวะ (Urinary calculi)
นิ่วในหลอดไต (ureteric calculi, UC)
บริเวณureteropelvic junction
ทำให้ท่อไตโป่งพองและไตก็จะโป่งพอง เกิดภาวะไตบวมน้ำ นำไปสู่ภาวะไตเสียหน้าที่
นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ (vesical calculi, VC)
bladder neck) มักเกิดการคั่งค้างของปัสสาวะร่วมกับการติดเชื้อ
อาการ
ปัสสาวะหยุดไหลอย่างกะทันหันขณะที่กำลังถ่าย
ปัสสาวะลำบาก ปวดเอวหรือปวดหลัง ปวดท้อง
การรักษา
ระบายน้ำปัสสาวะ เหนือตำแหน่งอุดกั้น
extracorporeal shock wavelithotripsy, ESWL
กำจัดการติดเชื้อ
นิ่วในไต (Renal calculi, RC)
ขนาดเล็ก 4 – 5 มม.
มักจะกดเจ็บบริเวณไตข้างนั้นมักมีไตบวมน้ำ (hydronephrosis) คลำพบก้อนได้
เนื้องอก: Bladder cancer
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ (CA bladder)
เป็นความผิดปกติของเซลล์ในกระเพาะปัสสาวะจนกลายเป็นก้อนเนื้องอกขึ้น
ตรวจร่างกาย : พบภาวะซีด ตรวจปัสสาวะพบ RBC, เซลล์ของเนื้องอก
การตรวจพิเศษ cystoscopy, plain KUB, cystography, IVP
การรักษา
superficial disease :จี้ที่ก้อนมะเร็ง หรือตัดก้อนเนื้องอกออก (transurethral resection of bladder tumor [TUR-BT])
invasive disease : อาจต้องตัดเอากระเพาะปัสสาวะออก (cystectomy) แล้วเปลี่ยนทางเดินปัสสาวะใหม่
การผ่าตัดเปลี่ยนช่องทางขับถ่ายปัสสาวะ (Urinary diversion surgery)
การรักษาไตวาย
Acute kidney injury, AKI
ไตวายเฉียบพลันจะมีลักษณะข้อใดข้อหนึ่ง
มีการเพิ่มขึ้นของครีอะตินีนในเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 0.3 มก./ดล. ภายใน 48 ชั่วโมง
มีการเพิ่มขึ้นของครีอะตินีนในเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 1.5 เท่าของค่าครีอะตินีนเดิมที่คาดว่ามีความผิดปกติเกิดขึ้นในช่วงไม่เกิน 7 วันก่อนหน้า
มีปริมาณปัสสาวะน้อยกว่า 0.5 มล./น้ำหนักตัว 1 กก./ชม. เป็นเวลา 6 ชั่วโมง
ความรุนแรง
ระยะที่ 2) ระดับครีอะตินีนในเลือด 2-2.9 เท่าของเดิมหรือ มีปริมาณปัสสาวะ < 0.5 มล./น้ำหนักตัว 1 กก./ชม. > 6-12 ชั่วโมง
ระยะที่ 3) ระดับครีอะตินีนในเลือด 3 เท่าของค่าเดิม หรือมีการเพิ่มของ >= 4.0 มก./หรือ มีปริมาณปัสสาวะน้อยกว่า 0.3 มล./น้ำหนักตัว 1 กก./ชม. >= 24 ชั่วโมง หรือ Anuria > 12 ชั่วโมง
ระยะที่ 1) ระดับครีอะตินีนในเลือด 1.5-1.9 เท่าของค่าครีอะตินีนเดิม หรือเพิ่ม >= 0.3 มก./ดล.หรือ มีปริมาณปัสสาวะ < 0.5 มล./น้ำหนักตัว 1 กก./ชม. เป็นเวลา 6-12 ชั่วโมง
อาการแสดง
ปัสสาวะน้อยกว่า 400 ซีซีต่อวัน
อาการจากของเสียคั่งหรือภาวะยูรีเมียทำให้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ซีดและเลือดออก มีอาการทางระบบประสาทเช่น ซึม ชัก
อาการแสดงของภาวะน้ำเกิน หายใจลำบาก แขนขาบวม หอบ เหนื่อยจากการคั่งของน้ำ
ทุพโภชนาการจากภาวะ hypercatabolic state
อาจพบ มีภาวะโพแทสเซียมในเลือดสูง เลือดเป็นกรด
อาการร่วมอื่นเที่เป็นสาเหตุของไตวายเฉียบพลัน เช่น ขาดน้ำ
การรักษาโรคไตเฉียบพลัน
การรักษาประคับประคองชลอความเสื่อมของไต
การรักษาผลของไตวาย ปรับสมดุลน้ำโดยจำกัดน้ำ ให้ยาขับปัสสาวะ แก้ไขภาวะเลือดเป็นกรด ดูแลภาวะโภชนาการ
หยุดยาที่เป็นสาเหตุ แก้ไขภาวะช็อก ภาวะติดเชื้อในเลือด
แก้ไขภาวะซีด
การบำบัดทดแทนทางไต(dialysis)
ข้อบ่งชี้สมบูรณ์ (Absolute indications) ของการเริ่มบำบัดทดแทนไต
ความผิดปกติทางเมตาบอลิก
ภาวะยูรีเมียหรือระดับ BUN มากกว่า 100 มก./ดล. หรือมีแนวโน้มจะเพิ่มถึง 100 มก./ดล.
ภาวะแทรกซ้อนจากภาวะไตวายโดยตรง
ภาวะเป็นพิษจากสารต่างๆที่ขจัดออกด้วยการฟอกเลือดด้วยไตเทียม
Chronic kidney disease, CKD
โรคไตเรื้อรัง แบ่งเป็น 5 ระยะ
ระยะที่ 1) ระดับการทำงานของไตGFR >= 90 มล./นาที/1.73 ตร.ม.
ระยะที่ 2) มีการลดลงของ GFR เล็กน้อย , GFR 60-89 มล./นาที/1.73 ตร.ม.
ระยะที่ 3a) มีการลดลงของ GFR น้อยถึงปานกลาง GFR 45-59 มล./นาที/1.73 ตร.ม.
ระยะที่ 3b) มีการลดลงของ GFR ปานกลางถึงมาก GFR 30-44 มล./นาที/1.73 ตร.ม.
ระยะที่ 4) มีการลดลงของ GFR มาก GFR 15-29 มล./นาที/1.73 ตร.ม.
ระยะที่ 5) ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย GFR < 15 มล./นาที/1.73 ตร.ม.
อาการแสดง
ระบบทางเดินหายใจ
pulmonary edemaจากภาวะน้ำเกิน
หายใจลำบาก หายใจเร็วลึกหายใจมีกลิ่นปัสสาวะหรือกลิ่นยูเรีย (uremia fetor)
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
บวมกดบุ๋ม ตาบวม หลอดเลือดดำที่คอโป่ง pericardial friction rub
แก่ ความดันโลหิตสูง มีการคั่งของน้ำและโซเดียม
ระบบประสาท
PNS เจ็บแสบร้อน ปลายเท้า ชา
ระบบประสาทสั่งการ เช่น กระตุก เป็นตะคริว กล้ามเนื้อแขนขาอ่อนแรง รีเฟลกซ์ลดลง ตาอักเสบ ตาแดง
CNS เช่น ชัก พฤติกรรมเปลี่ยนแปลง ไม่รู้สึกตัว มือสั่น (asterixis)
ระบบเลือด มีภาวะโลหิตจาง
ระบบทางเดินอาหาร
ภาวะยูรีเมียทำให้เกิดแผลในปากการรับรสเปลี่ยนแปลง (metallic taste)
มีเบื่ออาหาร สะอึก คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก ท้องเดิน
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
แคลเซียมในเลือดต่ำ กล้ามเนื้อกระตุก กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ผิวหนัง
แห้งและตกสะเก็ด คัน (uremic pruritus)
มีจ้ำเลือด เล็บเปราะบาง ผมเส้นเล็ก
ผิวซีดเหลืองจากโลหิตจาง pigment grey-bronze skin color
ระบบสืบพันธุ์
เพศหญิงประจำเดือนไม่สม่ำเสมอ
เพศชายภาวะหย่อนสมรรถภาพทางเพศ
ภาวะจิตใจและอารมณ์
มีความวิตกกังวล ซึมเศร้า
การรักษาโรคไตเรื้อรัง
ระยะเริ่มต้นและโรคไม่รุนแรง
การรักษาที่ไม่ใช้ยา
การรักษาด้วยการใช้ยาควบคุมความดันโลหิตช่วยชลอความเสื่อมของไต
ระยะรุนแรงและระยะสุดท้าย
Renal replacement therapy, RRT
การรักษาด้วยการทำไดอะลัยสิส (Dialysis)
การล้างไตทางช่องท้อง (Peritoneal dialysis)
ชนิดชั่วคราว (Acute peritoneal dialysis)
ชนิดถาวร ซึ่งแบ่งเป็น Intermittent Peritoneal Dialysis (IPD)
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (Hemodialysis)
การปลูกถ่ายไต (Renal transplantation)
การขับปัสสาวะผิดปกติ: Neurogenic bladder
Neurogenic bladder
Lower motor neuron เป็นกระเพาะปัสสาวะพิการที่เกิดจากการบาดเจ็บไขสันหลังระดับกระเบนเหน็บ
mixed bladder profile: upper motor /lower motor neuron) เป็นลักษณะของกระเพาะปัสสาวะที่เกิดเนื่องจากการบาดเจ็บของไขสันหลังแบบไม่สมบูรณ์
Upper Motor neuron เป็นกระเพาะปัสสาวะพิการที่มีผลมาจากการบาดเจ็บไขสันหลังเหนือระดับ RVC
reflex voiding center : RVC
การพยาบาล
ในระยะช็อค
คาสายสวนเนื่องจากการทำงานของรีเฟล็กซ์ทั้งหมดในส่วนที่ต่ำกว่าระดับที่ได้รับบาดเจ็บ
ในระยะแรก
งดน้ำและอาหาร จึงจำเป็นต้องให้น้ำสารละลายทางหลอดเลือดดำหรือการให้ยา
ประเมินการขับปัสสาวะออกมาอย่างใกล้ชิด
การคาสายระยะ 48 -72 ชั่วโมงแรกหลังบาดเจ็บ
พ้นจากระยะช็อกแล้ว
พิจารณาให้ฝึกขับปัสสาวะด้วยการสวนปัสสาวะเป็นครั้งคราวทุก 6 /4hr.
off IV
ควบคุมน้ำดื่มในแต่ละวันเพื่อป้องกันover distension
นางสาว ณัฐกานต์ สุขแดง 6101210729