Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4แดนมหาสนุก การแสดงพื้นบ้านอาเซียน ประเทศ จีน อินเดีย ญี่ปุ่น เกาหลี, S_…
4แดนมหาสนุก
การแสดงพื้นบ้านอาเซียน ประเทศ จีน อินเดีย ญี่ปุ่น เกาหลี
จีน
งิ้ว
เป็นการแสดงที่ผสมผสานการขับร้องและการเจรจาประกอบกับลีลาท่าทางของนักแสดงให้ออกเป็นเรื่องราว โดยสมัยนั้นได้นำเอาเหตุการณ์ต่าง ๆ ในพงศาวดารและประวัติศาสตร์มาดัดแปลงเป็นบทแสดง รวมทั้งยังมีการนำเอาความเชื่อทางประเพณีและศาสนาเข้าไปผสมผสานกับการแสดงงิ้วด้วย
ประวัติ
งิ้ว เริ่มต้นสมัยราชวงศ์ซ่ง (ค.ศ. 1179-1276) ทางภาคใต้ของจีนมีคณะงิ้วที่มีชื่อได้เปิดการแสดงที่มีบทพูดเป็นโคลงกลอนสลับการร้อง ใช้วงเครื่องดีดสีตีเป่าประกอบการแสดง
ประเภทของงิ้ว
ชนิดแรกคือ ละครใต้ (หนานซี่) ของสมัยราชวงศ์ซ่งใต้ แถบเมืองเวินโจว จนกระทั่งสมัยราชวงศ์ชิง จึงเกิด ‘งิ้วปักกิ่ง’ ถือได้ว่าเป็นศิลปะประจำชาติ เป็นการแสดงที่เอาความเด่นของงิ้วทุกชนิดมารวมเข้าด้วยกัน มีการแสดงที่โลดโผนกว่างิ้วแต้จิ๋ว มีการร้องในลักษณะของโอเปร่า
บุคคลสำคัญ
"เหมย หลันฟัง"
เหมย หลันฟัง เขาเป็นนักแสดงชายผู้รับบท "ตั้น" หรือตัวนาง มีลีลาการแสดงที่อ่อนช้อยงดงาม ได้รับการยกย่องเป็นหนึ่งในสี่นักแสดงงิ้วปักกิ่ง ที่สมบูรณ์แบบที่สุดในประวัติศาสตร์การแสดงอุปรากรจีน เป็นบุคคลแรกที่นำงิ้วปักกิ่งออกไปแสดงในต่างประเทศ โดยนำไปแสดงที่ญี่ปุ่น สหภาพโซเวียต ยุโรป และสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ ทศวรรษ 1920 ถึง 1960
ที่มา -
https://th.m.wikipedia.org/wiki/เหมย_หลันฟัง
-
https://th.m.wikipedia.org/wiki/งิ้ว
(สืบค้นเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2565) ผู้รับผิดชอบ นางสาวอนัญญา ตรึกตรอง ม.4/11 เลขที่33
เกาหลี
บุคคลสำคัญ
“Kim Baek-bong”
เป็นนักเต้นที่ก่อตั้งBuchaechumซึ่งได้รับอิทธิพลจากการเต้นรำแบบชามานิกของเกาหลีและศาลJoseonแบบดั้งเดิมและการเต้นรำพื้นบ้าน
บูชาชุม
(Buchaechum) การเต้นรำดำเนินการในงานเฉลิมฉลองและงานต่าง ๆ มากมายในเกาหลี และได้รับความนิยมไปทั่วโลก นักเต้นใช้พัดขนาดใหญ่ที่วาดด้วยดอกโบตั๋นสีชมพูเพื่อสร้างรูปแบบต่าง ๆ ที่เป็นตัวแทนของภาพ เช่น นก ดอกไม้ ผีเสื้อ มังกร และคลื่น นักเต้นสวมชุดฮันบกสีสันสดใส เป็นชุดประจำชาติเกาหลี
ประวัติ
Buchaechum ก่อตั้งในปี 1954 โดยนักเต้น Kim Baek-bong ซึ่งได้รับอิทธิพลจากการเต้นรำแบบชามานิกของเกาหลีและศาลJoseonแบบดั้งเดิมและการเต้นรำพื้นบ้าน
ที่มา
https://hmong.in.th/wiki/Fan_dance_(Korea
) (สืบค้นเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2565) ผู้รับผิดชอบ นางสาวศตพร จันทสุวรรณ ม.4/11 เลขที่35
อินเดีย
ภารตะนาฎยัม
มีส่วนสำคัญในพิธีของศาสนาฮินดูสมัยโบราณ สตรีฮินดูจะถวายตัวรับใช้ศาสนาเป็น "เทวทาสี" ร้ายรำขับร้อง บูชาเทพในเทวาลัย
การแสดง
ผู้แสดงต้องได้รับการฝึกฝนอย่างมีแบบแผนด้วยระยะเวลายาวนานจนมีฝีมือยอดเยี่ยม สามารถเครื่องไหวร่างกายได้สอดคล้องกับจังหวะดนตรี
ดนตรี
ที่ใช้ประกอบการแสดงในวงดูนตรีจะมีผู้ขับร้อง 2 คนคนหนึ่งจะตีฉิ่ง คอยให้จังหวะแก่ผู้เต้น อีกคนจะเป็นผู้ขับร้องและตีกลอง เป็นหัวใจสำคัญของการแสดงภารตะนาฎยัม
เครื่องแต่งกาย
ในยุคโบราณจากหลักฐานที่ปรากฏตามรูปปั้นไม่สวมเสื้อ สวมแต่ผ้านุ่งยาวแค่เข่า ใส่เครื่องประดับ ต่างหู สร้อยคอ กำไลข้อมือ ข้อเท้า ต้นแขน และเครื่องประดับที่ศีรษะ ปัจจุบันสวมเสื้อ ยึดการแต่งกายสตรีเป็นชุดประจำชาติของอินเดีย
บุคคลสำคัญ
อาเลีย บาตต์ เป็นนักแสดงหญิงชาวอังกฤษเชื้อสายอินเดีย เธอมีชื่อเสียงจากผลงานภาพยนตร์ภาษาฮินดีเป็นจำนวนมาก เธอได้รับรางวัลและได้รับการยกย่องอย่างมากในปัจจุบันเธอเป็นที่รู้จักกันในนามนางเอกคังคุไบ
ที่มา
https://strikernzero.blogspot.com/2017/12/blog-post_27.html
(สืบค้นเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2565) ผู้รับผิดชอบ นางสาวบุญสิตา สักกุณา ม.4/11 เลขที่30
ญี่ปุ่น
ประวัติ
มาจากการเต้นที่เรียกว่า “คาบูกิโอโดริ” ริเริ่มโดยผู้หญิงคนหนึ่งในสมัยเอโดะ คำว่า ” Kabuki หรือ คาบูกุ” ได้มีความหมายว่า แปลกใหม่ไม่เหมือนใคร ก้าวนำตามกระแส ซึ่งการแสดงเต้นรำนี้ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย จนสามารถพัฒนากลายเป็นศิลปะการแสดงละคร แต่เนื่องจากมีปัญหาขัดแย้งศีลธรรมในสังคมเพราะเชื่อว่ามีการค้าประเวณีในกลุ่มนักแสดง Kabuki หญิง จึงได้มีการห้ามไม่ให้ผู้หญิงแสดง Kabuki เลยและในปัจจุบันมีเฉพาะผู้ชายเท่านั้นที่สามารถขึ้นเวทีแสดงได้
บุคคลสำคัญ
โอคุนิ เกอิชาผู้แต่งกายด้วยชุดหรูหราอลังการ บางครั้งก็แต่งเป็นซามูไรเลียนแบบผู้ชายออกแสดงด้วยท่าทางการร่ายรำแปลกตา ในสมัยนั้นเรียกการแสดงของโอคุนิด้วยภาษาญี่ปุ่นว่า คาบุอิตะเอ็นชุสึ (การแสดงแปลกใหม่น่าแปลกตา) จึงกลายเป็นที่มาของคำว่า คาบูกิ
Kabuki
คือการร่ายรำประกอบการแสดงละครที่เป็นเรื่องราว อารมณ์คล้ายโขนบ้านเรา
และละครเกียวเง็น(Kyogen)ซึ่งเป็นละครตลกสลับฉากละคร ทำให้คาบูกิมีลักษณะของศิลปะชั้นสูงอย่างโนห์ และสามารถเข้าถึงกลุ่มชาวเมืองทั่วไปอย่างเกียวเง็นด้วย
ที่มา
https://matcha-jp.com/th/1197
(สืบค้นเมื่อวันที่10มิถุนายน2565) ผู้รับผิดชอบ น.ส.วีรนุช เชาวลิต ม.4/11เลขที่42
วัฒนธรรมการแสดงของจีนอาจมีอิทธิพลในไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ ถึงแม้จะไม่หลากหลาย แต่วัฒนธรรมการแสดงของจีนก็ยังแพร่ขยายเข้าสู่ เวียดนาม เกาหลี ญี่ปุ่น อินเดียศิลปะการแสดงของอินเดีย เข้าไปเกี่ยวข้องกับศาสนาฮินดูซึ่งเห็นได้จากตำนานนาฏยเวท ที่บันทึกเรื่องราวเกี่ยวข้องกับเทพหรือพระผู้เป็นเจ้าที่มีอิทธิพลต่อนาฏยศาสตร์