Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิด - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกแรกเกิด
1.การประเมินและการดุแลทารกแรกเกิดที่มีความผิดปกติเล็กน้อย
1.Club foot
ความผิดรูปแบบข้อเท้าจิกลงล่างบิดเข้าใน ฝ่าเท้าหงายขึ้น รูปร่างเหมือนไม้กอล์ฟ
เท้าปุกแท้ : ไม่สามารถกลับมาอยู่ในรูปร่างปกติได้
เท้าปุกเทียม : เกิดจากการขดตัวอยู่ในครรภ์มารดา อ่อนดัดง่าย สามารถกลับหายได้เองภายใน 2- 3 เดือนหลังคลอด
2.Tongue - tie
ภาวะผิดปกติในช่องปาก เนื้อเยื่อยึดเกาะใต้ลิ้น สั้นและหนาตัว อาจมีผลกับการดูดนมแม่
ประเมิน โดย SIRIRAJ TONGUE - TIE (STT Score)
moderate =2
severe =1
mild = 3
3.Meconium.impact.
ภาวะขี้เทาอุดตันลำไส้ : ท้องอืดโป่ง ไม่ดูดนม อาเจียน
การสวนระบาย ให้ระวังภาวะแทรกซ้อนคือการแตกทะลุ
4.Lactose intolerance.
แพ้น้ำตาลแลตโตส : ภาวะร่างกายไม่สามารถย่อยน้ำตาลแลตโตสในนมได้ แน่นท้อง ท้องอืด ท้องเดิน ควรงดให้นมแม่ก่อน
5.Down syndrome
ความผิดปกติของโครโมโซม เกินไป 1 แท่ง คือโครโมโซมคู่ที่ 21
ศรีษะเล็กแบน ตาเฉียงขึ้น ดั้งจมูกแบน ปากเล็ก กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียกใบหูเล้กต่ำกว่าปกติ ตัวเตี้ย มือสั่น
การดูแลมุ่งเน้นครอบครัว
6.Neonatal teeth.
ฟันงอกสีขาว ประกอบด้วยเคราติน มีตัวฟันไม่มีรากฟัน อาจมีปัยหากับการให้นม สามารถถอนออกได้
7.ตัวเหลือง
ภาวะเม็ดเลือดแดงแตก การทำลายเม็ดเลือดแดงมากกว่าปกติ การทำงานของตับไม่สมบูรณ์ ความผิดปกติที่ลำไส้
1.ภาวะตัวเหลืองทางสรีรภาพ
มีค่า Birirubin ครบกำหนด 12 mg/dl. ทารกคลอดก่อนกำหนด มีค่า Bilirubin 15 mg/dl.
2.ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิสภาพ
ภายใน 24 ชั่วโมงหลังคลอด พบค่า Bilirubin 20 mg/dl.
8.Sub temperature.
ภาวะอุณหภูมิร่างกายต่ำ กว่า 36.5 องศาเซลเซียส ผิวหนังเย็น มีอาการเขียวคล้ำ
การสูยเสียความร้อน
2.การพาความร้อน
3.การระเหยของน้ำ
1.การนำความร้อน
4.การแผ่รังสี
9.น้ำตาไหล
เกิดอุดตันที่ท่อน้ำตา มีน้ำตาคลออยู่ตลอดและมีขี้ตาแฉะ หายเองภายใน 1-2 เดือน
10.Sucking defect.
การดูดกลืนผิดปกติ
ปัจจัยภายใน มีปัญหาอวัยวะที่ดูดกลืน เช่น ลิ้นติด ปากแหว่งเพดานโหว่ ช่องต่อระหว่างทางเดินอาหารกับระบบทางเดินอาหาร หรือมีปัญหาโรคปอด หัวใจ
ปัจจัยภายนอก วิธีการให้นม ทารกดูดหัวนมยาง ปริมาณนมมากเกินไป จึกเกิดการสำลัก
11.Undescended testes.
อัณฑะไม่ลงถุง ความผิดปกติของผนังหน้าท้องส่วนล่าง , primary endocrine disorder , idiopathic.
รักษาด้วยฮอร์โมนหรือการผ่าตัด
3.การพยาบาลทารกแรกเกิดประจำวัน
1.การส่งเสริมความสะอาดของร่างกายและความสุขสบายของทารก
อาบน้ำ สระผมให้ทารกทุกวัน วันละ 1 ครั้ง ไม่เกิน 10นาที หลังให่อาหาร 1-2 ชั่วโมง
การเช็ดสะดือ ใช้ไม้พันสำลี ชุบ Alcohol70%
สะดือเปียก เช้ดจากปลายตัดลงมาโคน
สะดือแห้ง เปลี่ยนเป็นสีดำ เช็ดจากโคนไปยังปลายตัด
2.การสงเสริมให้ได้รับสารอาหารและการขับถ่าย
ทารกควรได้รับแคลลอรี่ 100-120 แคลอรี่ต่อวัน
ควรชั่งน้ำหนักทุกวัน ทารกจะมีน้พหนักลด 2- 3 วันแรก ไม่เกิน 10 %
ดูแลทารกให้ได้รับนมมารดาอย่างเดียว อย่างน้อยวันละ 9 ครั้ง
อุจจาระเป็นสีเหลือง เหลวเป็นเนื้อเดียวกัน มีกลิ่นเปรี้ยว ถ่ายวันละ 3-4 ครั้ง
กระตุ้นให้ขับถ่ายขี้เทา
1-2 วันแรก อุจจาระเหนียวข้น สีเขียวเข้มถึงดำ เรียกว่าขี้เทา
3.การส่งเสริมการพักผ่อน
ในช่วงกลางวันปลุกทารกตื่นมารับนมและเล่นกับมารดามากกว่ากลางคืน
4.การส่งเสริมการได้รับภูมิคุ้มกันโรค
ควรได้รับวัคซีนตามปกติ คือ วัคซีนป้องกันวัณโรคและป้องกันไวรัสตับอักเสบบี
5.การป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
หายใจช้ากว่า 40 ครั้ง/นาที หรือเร็วกว่า 60 ครั้ง/นาที
สังเกตปริมาณสี กลิ่นของอาเจียน
สังเกตสีผิว และความผิดปกติต่างๆ ตา เสียงร้อง
การดูด การกลืน
บันทึกอาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
6.ส่งเสริมทารกให้ได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
การจัดสถานที่สะอาดและเหมาะสม
การทำความสะอาดร่างกาย
การป้องกันการติดเชื้อและได้รับภูมิคุ้มกัน
ความต้องการของทารกเกี่ยวกับการสัมผัส
สังเกตอาการผิดปกติ เช่น ตัวเหลือง ไข้ ตาอักเสบ ฝ้าในปาด สะดืออักเสบ การติดเชื้อทางเดินหายใจ ท้องเดิน เป็นต้น
การตรวจสุขภาพตามนัด
การรับสูจิบัตร การแจ้งเกิดและการแจ้งย้าย ทำภายใน 15 วันหลังทารกเกิด
2.การให้ภูมิคุ้มกันสำหรับทารกแรกเกิดและการป้องกันภาวะแทรกซ้อน
วัควีนที่ทารกแรกเกิดทุกคนต้องได้รับ
วัคซีนป้องกันวัณโรค BCG เป็นวัควีนที่ทารกแรกเกิดต้องได้รับก่อนจำหน่าย
ผลิตจากแบคทีเรีย ฉีดเข้าในผิวหนังของต้นแขน ป้องกันได้นาน 10 ปี
หลังฉีด ห้าม บ่ง บีบ แคะ ตุ่มหนอง ใช้ชุบน้ำสะอาดเช็ดแผล
วัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบ บี HBV
ประกอบด้วยโปรตีนของผิวไวรัสลักษณะขุ่่นเขย่าหลอดก่อนใช้ มีทั้งวัคซีนเดี่ยวและวัคซีนรวม จะฉีด 3 ครั้ง
ครั้งที่ 2 เมื่อทารก อายุ 1 เดือน หรือ 2 เดือน
ครั้งที่ 3 ทารกอายุ 6 เดือน
ครั้งที่ 1 แรกเกิด เข้ากล้ามเนื้อบริเวณต้นขา
*กรณีเด็กคลอดจากมารดาเป็นพาหนะ ต้องฉีด HBIG ภายในแรกเกิด 12 ชั่วโมง
เมื่ออยู่ 2 เดือน ให้วัคซีนป้องกันโปลิโอ , HBV เข็มที่ 2 , และ DPT (คอตีบ บาดทะยัด ไอกรน )