Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
6.4 part 1 (Club foot-Down Syndrome - Coggle Diagram
6.4 part 1 (Club foot-Down Syndrome
Club foot
ภาวะเท้าปุก (club foot)
ความผิดปกติของรูปเท้า
ที่เป็นตั้งแต่กาเนิด
ข้อเท้าจิก
ลงล่าง
บิดเข้าใน และฝ่าเท้า
หงายขึ้น
ส้นเท้าไม่ถึงพื้น
มีรูปร่างเหมือนไม้กอล์ฟ
อาจเป็นข้างเดียวหรือสอง
ข้างก็ได้
Memory tip
Golf club
Type
เท้าปุกแท้
(Congenital Clubfoot)
ไม่สามารถดัดให้กลับมาอยู่ใน
รูปร่างปกติได้
2. เท้าปุกเทียม (Postural
Clubfoot)
ไม่มีความผิดปกติ
ของโครงสร้างเท้า เกิดจากการขด
ตัวอยู่ในครรภ์มารดา โดยเท้าบิด
เข้าด้านในเป็นเวลานาน พบได้บ่อย
เรียกว่า
Positional
clubfoot
โดยที่เท้าบิดเข้าใน
หลังจากคลอดแล้วรูปเท้าปุกจะหาย
ได้เอง ภายใน 2 ถึง 3 เดือนหลัง
คลอด
Cause
unknown
เป็นแต่กา เนิดโดยไม่ทราบสาเหตุ
(Congenital Idiopathic Clubfoot)
การรักษา
Massage
การนวดเท้าจะกระตุ้นกล้ามเนื้อเท้าและข้อเท้าให้มี
ความยืดหยุ่นมากขึ้น
Rub
การกระตุ้นเท้าเป็นการถูเบาๆ ที่ฝ่าเท้า
Ponseti method
การดัดนวดเท้าและใส่เฝือกขายาว ควรเปลี่ยนเฝือกทุก
1-2 สัปดาห์
stretching your baby's foot into a better position. It's then put into a cast
Tongue-tie
ลิ้นติด Tongue-tie / ankyloglossia
เนื้อเยื่อที่ยึดเกาะใต้ลิ้นกับพื้นล่างของช่องปาก(lingual
frenulum) สั้นและหนาตัว
อาการแสดง
-แลบลิ้นได้ไม่พ้นริมฝีปากหรือเหงือกบน
-ไม่สามารถกระดกปลายลิ้นขึ้นไปสัมผัส
เพดานปากได้
-ไม่สามารถเคลื่อนไหวลิ้นไปด้านข้างได้
-เมื่อแลบลิ้น ปลายลิ้นจะแบนไม่มนหรือ
เป็ นเหลี่ยม ไม่แหลมมนอย่างทั่ว ๆ ไป
ปลายลิ้นอาจเป็นร่องหยักเข้ามา หรือ
เป็นรูปหัวใจ
การให้คะแนนความรุนแรงของภาวะลิ้นติด
จาก SIRIRAJ TONGUE- TIE SCORE: STT Score
1.Tongue ดูตาแหน่งสั้นสุดของพังผืดมาเกาะด้านใต้ลิ้น
Scoring
severe ให้ 1 คะแนน ปลายพังผืดเกาะตั้งแต่ fimbriated fold
ขึ้นมาทางปลายลิ้น
moderate ให้ 2 คะแนน
แบ่งพื้นที่ใต้ลิ้นต่า กว่า fimbriated fold เป็ น 2 ส่วน
ถ้าปลายพังผืดเกาะที่ครึ่งบนค่อนไปทางปลายลิ้นแต่ไม่ถึง
3.mild ให้ 3 คะแนน
ถ้าปลายพังผืดเกาะที่ครึ่งล่างค่อนมาทางโคนลิ้น
Nipple character (after stimulation)
ประเมินหลังจากให้ทารกดูดนมไปแล้วสักครู่ คะแนนตามแบบ
ประเมิน
Nipple sensation
ขณะที่ลูกดูดนมรู้สึกว่าลิ้นอยู่ที่...
หัวนม ได้ 2 คะแนน
ที่ลานหัวนมได้ 4 คะแนน
ไม่มีลิ้นมาโดนเลยเป็นเหงือกแข็งทุกครั้งได้ 0 คะแนน
ใช้ทานายว่าทารกรายใดจะมีปัญหาในการดูดนมมารดา
ทารกที่มี STT score ต่า กว่า 8 คะแนน
ร่วมกับมีภาวะลิ้นติด ควรได้รับการผ่าตัดพังผืดใต้ลิ้น
ผลของลิ้นติดต่อทารก
ดูดนมได้ไม่ดี อมหัวนมแล้วมักหลุด
น้าหนักตัวไม่ค่อยขึ้นจากการได้น้านมไม่พอ
แม่เจ็บหัวนมหรือหัวนมเป็นแผล แม่สร้างน้านมน้อยลง ๆ
รักษา
Frenotomy
Meconium impact
ภาวะขี้เทาอุดตันลาไส้
ทารกแรกเกิด อาจเกิดภาวะลาไส้ตีบตันหรือลาไส้อุดตันจากขี้
เทา
(Meconium ileus) หากไม่มีการขับถ่ายภายใน24
ชั่วโมง
ปล่อยให้อุจจาระแห้งอัดแน่นมากขึ้น อาจเป็น
สาเหตุให้เกิดลาไส้อุดตัน (intestinal obstruction)
อาการ
- ท้องอืด โป่ง
- ไม่ดูดนม
- อาเจียน
การรักษาเบื้องต้น
การสวนระบายอุจจาระ (rectal
irrigation)
ทารกแรกเกิดให้ค่อยๆ ริน normal
saline ทีละ 15 – 20 มล. เข้า
Rectum ผ่าน rectal catheter
ขนาด 16 Fr
น้าเกลือที่ใช้ควรเป็นน้าเกลืออุ่น โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งในเด็กทารกที่สูญเสียความร้อนง่าย
ในระยะแรกการสวนล้างมักจะต้องทาหลาย
ครั้งในแต่ละวันจนกว่าจะลดการคั่งค้างได้
complication
ภาวะแทรกซ้อนที่สาคัญของการสวนระบายอุจจาระคือการแตกทะลุ
Lactose intolerance
ภาวะแพ้น้าตาล Lactose
ร่างกาย
ไม่สามารถย่อย
น้าตาลแลคโตส**
ในนม
ได้จากลาไส้ขาด
เอนไซม์หรือน้าย่อยที่มีชื่อ
ว่า "แล็กเทส
(lactase)**
cause
ขาดเอนไซม์(lactase)
Prevalence
พบได้บ่อยในคนทุกวัย มักเริ่มพบตั้งแต่ในช่วง
วัยรุ่นและวัยหนุ่มสาว
พบได้น้อยในทารกเนื่องจาก น้าย่อยนี้มีมากในทารก และ
ค่อยๆ ลดลงไปเมื่อโตเป็นผู้ใหญ่
Result
ทำให้เกิด
อาการ
ท้องอืดและท้องเดินหลังได้รับนมมารดา
อาการ การวินิจฉัยและการดูแล
อาการ:
ทารกแรกเกิด จะเกิดอาการท้องอืดและท้องเดินทุก
ครั้งหลังได้รับนมมารดา
อาการ:
การวินิจฉัย จาก :
อาการแสดงเป็นหลัก และอาจทดลอง
ให้งดด่มื นมและงดกินผลิตภัณฑ์จากนมเป็นเวลา ๒ สปั ดาห์
ถ้าหายเป็นปกติ ก็มักจะเป็นภาวะนี้จริง
การดูแลในทารกแรกเกิด:
ควรงดนมมารดาและนมวัว ควรให้ดื่ม
นมถั่วเหลืองแทนนมมารดา
Down syndrome
กลุ่มอาการดาวน์ หรือ Down Syndrome
What is it?
พบบ่อยในเด็กปัญญาอ่อน
มีรูปร่างหน้าตาคล้ายชน
ชาติมองโกล
บางคนเรียกความผิดปกตินี้ว่า Mongolism
Prevalence 1:1000 สัมพันธ์กับอายุของมารดา
Cause
translocationพบได้ร้อยละ4
แท่งโครโมโซมย้ายที่ เช่น โครโมโซมคู่ที่ 14 มายึดติดกับ คู่ที่ 21
trisomy
21พบได้ร้อยละ 95
โครโมโซมเกินไป 1 แท่ง คือ
โครโมโซมคู่ที่ 21 มี 3 แท่ง
mosaic Down Syndrome
Syndromeพบได้น้อยที่สุดคือ พบได้เพียงร้อยละ 1 เท่านั้น
มีโครโมโซมทั้ง 46 และ 47 แท่งใน คนๆ
อาการและอาการแสดง
มีลักษณะ เฉพาะ
ศีรษะค่อนข้างเล็กแบนและตาเฉียงขึ้น
ดั้งจมูกแบน ปากเล็ก ลิ้นมัก
ยื่นออกมาเนื่องจากกล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก
ตัวค่อนข้างเตี้ย มือสั้น
ร่างกายทารกแรกเกิด พบว่ามีความยาวน้อยกว่าปกติ
ท้ายทอยแบนราบ ตายาวรีและเฉียงออกไปด้านนอก
ใบหูเล็กอยู่ต่า กว่าปกติ
the most important problem
พัฒนาการช้า ภาวะปัญญาอ่อน
มักมีโรคหัวใจพิการแต่กาเนิดพบได้ร้อยละ 30-40
มีภาวะต่อมไทรอยด์
บกพร่อง ร้อยละ 30
สาไส้อุดตันตั้งแต่แรกเกิด
การวินิจฉัยและ การรักษา การป้องกัน
การตรวจวินิจฉัย
ตรวจวิเคราะห์โครโมโซม
การรักษา
ไม่มีการรักษาให้หายเป็น
ปกติได้
รักษาแบบ
ประคับประคองตาม
ภาวะแทรกซ้อน
การป้องกัน
การวินิจฉัยก่อน
คลอด ปัจจุบันใน
หญิง
ตั้งครรภ์
ที่อัตรา
เสี่ยงสูง เช่น
อายุมากกว่า 35 ปีขึ้นไป
สามารถ
เจาะน้า คร่า มาตรวจดู
โครโมโซมของเด็ก
ในครรภ์ว่า
ผิดปกติหรือไม่
หากพบความ
ผิดปกติคู่สามีภรรยาอาจ
เลือกยุติการตั้งครรภ์ได้
การพยาบาล
ยอมรับความจริงของ
ครอบครัวต่อสภาพของเด็ก
เผชิญกับการไม่ยอมรับของ
สังคมโดยเริ่มจากการยอมรับ
ของครอบครัวอย่างเหนียว
แน่น
ไม่แสดงปมด้อย ไม่
โกรธแค้น
Educate the family เด็กมีลักษณะ
ขี้เล่น ร่าเริง ชอบสนุก
ชอบยอ ชอบดนตรี
ขี้ลืม มีความสนใจน้อย
ต้องอาศัยการสอนซ้าๆ
ชอบเอาอย่าง จึงถูกชักจูง
ง่าย ครอบครัวต้อง
ช่วยเหลือหาแบบอย่างที่ดี
ต้องการความรัก
ความอบอุ่นอย่างมาก
การอบรมเด็กปัญญาอ่อน
ขั้น 1
ขั้นหนึ่งให้รู้จักการปฏิบัติตน
ภายในครอบครัว
ขั้น 2
ขั้นสองให้รู้จักการปฏิบัติตน
ในสังคม
ขั้น 3
ขั้นสาม การอบรมด้าน
วิชาชีพ
การฟื้นฟูสมรรถภาพ
ควร
ได้รับการฟื้นฟูให้เร็วที่สุดโดย
การกระตุ้นพัฒนาการทุกด้าน
คุมกาเนิดแบบถาวร
แนะนาแหล่งขอความ
ช่วยเหลือ
ป้องกันการเกิดซ้าใน
ครอบครัวโดยการให้
คาปรึกษาทางพันธุศาสตร์