Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บุคลิกภาพผิดปกติ (Personality Disorders) - Coggle Diagram
บุคลิกภาพผิดปกติ
(Personality Disorders)
ทฤษฎีที่ใช้อธิบาย
Eneagram (นพลักษณ์) ทั้ง 9
ลักษณ์ 1 ชอบความถูกต้อง
ลักษณ์ 2 ชอบช่วยเหลือ
ลักษณ์ 3 ชอบแข่งขัน
ลักษณ์ 4 เป็นศิลปิน
ลักษณ์ 5 นักคิดวิเคราะห์
ลักษณ์ 6 ผู้จงรักภักดี
ลักษณ์ 7 นักผจญภัย
ลักษณ์ 8 เป็นผู้นำ กล้าหาญ
ลักษณ์ 9 นักเจรจา ประนีประนอม ไกล่กลี่ย ประสานไมตรี
จริต 6
ราคจริต (รักสวยรักงาม)
โมหจริต (ลุ่มหลง)
พุทธิจริต (มีปัญญา)
โทสจริต (เจ้าอารมณ์)
สัทธาจริต (เชื่อง่าย)
วิตกจริต (กังวล)
Big 5
Openness to experience
เปิดรับประสบการณ์
Conscientious ness
มีจิตสำนึก
Extraversion
เปิดตัว ชอบเข้าสังคม
Agreeableness
ความเป็นมิตร
Neuroticism
ความไม่มั่นทางอารมณ์
เครื่องมือวัดบุคลิกภาพ
Minnesota Multiphasic Personality Inventory (MMPI) 495 ข้อ
สร้างโดย Hathaway + McKinley
Self-rating แย่วเป็น 3 พวก คือ จริง ไม่จริง และบอกไม่ได้
เปรียบเทียบกับ Mean 50 SD 10
ถ้าคะแนนเกิน 70 = อาการน่าสงสัย
Projective test นักจิตวิทยาคลินิกใช้
Rorschach Test หยดหมึก
Thematic Apperception Test (TAT)
อาการะสำคัญ 3 กลุ่ม
สาเหตุ
Biological actors ด้านชีวภาพ
Genetic/familial factors
ญาติสายตรง+แฝดแท้ Monozygotic twins ผิดปกติ
Neurotransmitter dysregulation
สารสื่อประสาทผิดปกติ
Serotonin ⬇️
Dopamine ⬆️ ค.ผิดปกติของค.คิด+รับรู้
Psychosocial/Environment factors ด้านสิ่งแวดล้อม
ก.เลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม
เข้มงวด/ลงโทษ ปล่อยตามใจ ทอดทิ้ง/ทารุณ ค.สัมพันธ์พ่อ-แม่-ลูกไม่ดี
การอยู่ใน สวล.ที่กดัน
ยากน/ถูกกดขี่/ทารุณกรรมทางจิตใจ/ขาดที่พึ่ง/อิทธิพลของคนใกล้ชิด
Psychological factors ด้านจิตใจ
Psychoanalytic Theory
ท.ษ.จิตวิเคราะห์ของ Freud
เกิด
fixation
ของ psychosexual stage of development (oral, anal, phallic stages) + โครงสร้างจิตบกพร่อง (Psychic structure : id, ego, superego)
Learning Theory
ท.ษ.การเรียนรู้
จากการเลียนแบบ/ได้รับก.เสริมแรงจากคนสำคัญ
(Reinforcement)
Cognitive Theory ท.ษ.การรู้คิด
ผลจากประสบการณ์ใน สวล. ของครอบครัว
การวินิฉัย
(DSM - 5)
A : ลักษณะการดำเนินขีวิตต่างจากคนอื่น โดยมีอาการอย่างน้อย 2 อย่าง
ด้านการรับรู้ (Cognitive) การรับรู้+เข้าใจตนเอง ผู้อื่น/เหตุการณ์คาดเคลื่อน
ด้านอารมณ์ (affect) ไม่มั่นคงมาก/น้อยเกินไป ไม่เหมาะสม
ด้านความสัมพันธ์กับผู้อื่น (Interpersonal functioning)
พฤติกรรมหุนหันพลันแล่น (Impulsive control) ขากการควบคุมที่ดี
B : ลักษณะดังกล่าวอยู่ตลอดและไม่ยืดหยุ่นตามสถานการณ์
C : กระทบต่ออาชีพ การทำงาน/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับสังคมอย่างอื่น
D : ลักษณะคงที่+ยาวนาน เริ่มตั้งแต่วัยรุ่น/วัยหนุ่มสาว
E : ไม่ใช่อาการทางจิตเวช/ไม่เกิดภายหลังจาก Pt. โรคจิตเวช
F : ไม่เกิดจากการใช้สารเสพติด ยารักษาโรค/โรคทางกาย
Classification ตาม DSM 5
3 clusters
Cluster A : “MAD” แปลกๆ ไม่เต็มบาท
Paranoid Personality Disorder (PPD)
ระแวง มองคนในแง่ร้าย คิดว่าตนถูกปองร้าย ระแวงความไว้ใจของเพื่อนๆ/พวกพ้อง
MSE : ท่าทางตึงเครียด, คอยสอดส่องสิ่งแวดล้อม ไม่มีอารมณ์ขัน คำพูดจะเป็นเหตุเป็นผลแม้จะไม่จริง
ใช้กลไกลทางจิตแบบ Projection
การรักษา
จิตบำบัดบุคคลเป็นหลัก
รักษาด้วยยา ใช้เมื่อวุ่นวาย กระสับกระส่าย กังวล อาจให้ diazepam
/วุ่นวายมากให้ยารักษาโรคจิต haloperidol ขนาดต่ำๆ
Schizoid Personality Disorder (ScPD)
เย็นชา สันโดษ ห่างเหิน ไม่ชอบเข้าสังคม อารมณ์เฉยเมย ไม่ชอบสบตา
ไม่ชอบสนทนา เพ้อฝัน มีจิตนาการของตนเอง แต่ยู่ในโลกค.เป็นจริง
MSE : Pt. แสดงค.อึดอัดในการสัมภาษณ์ ไม่สบตา ตอบสั้นๆ เฉยเมย บางครั้งพูดแปลกๆ
การรักษา
จิตบำบัดบุคคลเป็นหลัก
รักษาด้วยยา ยารักษาโรคจิต/ยาต้านเศร้า ขนาดต่ำๆ อาจได้ผลบางราย
Schizotypal Personality Disorder
ScPD
ค.คิด ท่าแปลกๆ เชื่อเรื่องอำนาจวิเศษ โชคลางไสยศาสตร์ มีปัญหาการติดต่อสื่อสารกับคนอื่น พูดแปลกๆ วกวน เลื่อนลอย ไรสาระ ไม่มีเพื่อนสนิท
การักษา
จิตบำบัดรายบุคคล
รักษาด้วยยา ยารักษาโรคจิต/ยาต้านเศร้า ขนาดต่ำๆ อาจได้ผลบางราย
ข้อวนิจฉัยทางการพยาบาล
วิตกกังวล เนื่องจากคิดว่าตนถูกคุกคาม/ผู้อื่นมีเจตนาร้ายต่อตน
มีการแยกตัวจากสังคม เนื่องจากไม่ไว้ใจผู้อื่น/มีค.คิด/ค.เชื่อแปลกประหลาด
การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นบกพร่อง เนื่องจากกระบวนการคิดบกพร่อง/มีค.คิด/ค.เชื่อแปลกประหลาด
การเผชิญปัญหาไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจาขาดค.เข้าใจผู้อื่น/ไม่เข้าใจสถานการณ์ที่บิดเบือนไป/ไม่สามารถสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจตน
Cluster B : “BAD” เจ้าอารมณ์ เจ้าบทบาท ไม่คงที่
Antisocial Personality Disorder (ASPD
)
ไม่สนใจเข้าสังคม ตั้งแต่อายุ 18 ปี บางคนคบผิวเผิน ดูมีเสน่ห์ไม่เห็นว่าผิดปกติ ประพฤติผิด ไม่เหมาะสมซ้ำแล้วซ้ำเล่า ตั้งแต่เด็ก
ปราศจากค.สำนึกผิดไม่เสียใจในการกระทำของตน ไม่สนใจค.รู้สึกผู้อื่น ไม่มีมโนธรรม
MSE : ร่วมมือ แต่บึกๆ แล้วเครียด โกรธ
การรักษา
จิตบำบัด
รักษาด้วยยา เพื่อลดค.วิตกกังวล ก้าวร้าวและซึมเศร้า
มักใช้สารเสพติด !!ต้องระวังการใช้ยา อาจติดเพิ่มได้!
Histrionic Personality Disorder (HPD)
เรีกร้องค.สนใจสูง
ทนไม่ได้ถ้าตนเองไม่เป็นที่ยอมรับหรือไม่ได้รับค.สนใจ แสดงออกเกินจริง
เหมือนละคร
ชอบยั่วยุ ไม่มั่นใจในตนเอง ้องการคำยืนยัน ซ้ำแล้วซ้ำเล่า
การักษา
จิตบำบัด
เป็นหลัก
อาจใช้กลุ่มจิตวิเคราะห์/กลุ่มจิตบำบัด
การรักษาด้วยยา ให้ยาตามอาการ
Narcissistic PD
หลงตัวเอง
คิดวาตัวเองพิเศษสำคัญเหนือคนอื่น ต้องได้รับการดูแลอย่างดี ทนคำวิพากษ์วิจารณ์ไม่ได้ ต้องการต่การยกย่องรรเสริญ เผด็จการ
การรักษาการรักษาด้วยยา ให้ยาตามอาการ
จิตบำบัดแบบประคับประคอง
Borderline PD
ขาดค.มั่คงแน่นอน เมื่อ Pt. ต้องพึ่งพาใครจะ รส. คนนั้นดีมาก แต่หากไม่พอใจจะโกรธจนไม่เห็นค.ดี
ค.คิดสุดขั้ว ขาว-ดำไม่มีเทา : กลไกทางจิตแบบ splitting
มีประวัติฆ่าตัวตายบ่อย เพื่อเรียกร้องค.สนใจ อาจมี short-live psychosis
การรักษา
จิตบำบัด/พฤติกรรมบำบัดด้วย เพื่อควบคุมพฤติกรรม
ให้ยาตามอาการ
Cluster C : วิตกกังวลง่าย ขี้กลัว
Dependent PD (DPD)
พึ่งพาผู้อื่นสูง
ชอบเป็นผู้ตาม ไม่กล้าแสดงความไม่เห็นด้วยกับคนอื่น ขาดค.มั่นใจ กลัวถูกทอดทิ้งเพราะคิดว่าดูแลตนเองไม่ได้
การรักษา
จิตบำบัด พฤติกรรมบำบัด คอบครัวบำบัด กลุ่มจิตบำบัด
การรักษาด้วยยาตอาการ
Avoidant PD
ไวต่อค.รส.ถูกปฏิเสธ
ที่จริงอยากมีเพื่อน อยากเข้าสังคมต่กลัวจะไม่ได้รับการยอมรับ มองตนเองในง่ลบ คิดว่าตนเองต่ำต้อย มีปมด้อย กลัวการพูดต่อหน้าสาธารณชน
การรักษา
พฤติกรรมบำบัด โดยเฉพาะ assertive training, social skills training ฝึกสื่อสาร
รักษาด้วยยา กรณีวิตกกังวลสูง ใช้ยาคลายกัวลในระยะเวลาสั้นๆ
Obsessive-Compulsive PD
Perfectionism ทำทุกอย่างเรียบร้อยสมบูรณ์แบบ
Inflexibility ไม่ยืดหยุ่น ยึดกับรายละเอียดเล็กๆน้อยๆจนมองข้ามจุดสำคัญ
ชอบสะสม ไม่ยอมทิ้งสิ่งของ
วิตกกังวลสูง
Depression ง่าย
การรักษา
จิตบำบัด
พฤติกรรมบำบัด
ยาตามอาการ
บุคลิกภาพ (Personality)
แบบแผนลักษณะจำเพาะของแต่ละบุคคลที่แสดงออก
เป็นผลรวมของ
Temperament มีมาตั้งแต่เกิด
พันธุกรรม (genetic)
สิ่งที่ติดตัวมาแต่กำเนิด (constitutional factor)
Character เกิดจากการเรียนรู้ช่วงต้นของชีวิต
(Early life experiment)
Personality trait เด่นแต่ละด้น > อุปนิสัยเฉาะ แต่ไม่ผิดปกติ
ลักษณะที่ผิดปกติ
Pt. มักให้ผู้อื่น/สวล.ปรับตัวเข้าหาตนเอง (alloplastic) > ปรับปรุงตนเอง (autoplstic)
พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ไม่ขัดต่อค.รส. Pt. (Ego systolic)
ไม่คิดว่าผิดปกติ ไม่ต้องรักษา
ลักษณะไม่ยืดหยุ่น ค่อนข้างตายตัว (rigidity) เปลี่ยนแปลงยาก
มีปัญหาสัมพันธภาพกับคนรอบข้าง
ผลกระทบต่อบุคคล ครอบครัวและชุมชน
ต่อบุคคล
มักไม่ประสบความสำเร็จในชีวิต+การทำงาน
มีปัญหาสัมพันธภาพกับคนรอบตัว
ต่อครอบครัว
มักิตกกังวล+เครียดต่อพฤติกรรมที่แปรปรวนนั้น
ต่อชุมชน
ถ้าควบคุมพฤติกรรมหุนหันพลนแล่นได้ มักไม่ส่งผลเสีย
ยกเว้น
กลุ่ม antisocial ที่อาจสร้างค.เดือดร้อน ex. หลอกลวง ขโมย ยาเสพติด การพนัน
การรักษาและป้องกัน
ป้องกัน
ไม่มีการป้องกันที่ได้ลแน่นอน สังคม สภาพแวดล้อมดี การอบรมเลี้ยงดู ค.รักและความเข้าใจ > บุคลิกภาพดี
รักษาตามอาการ
*cluster C
ให้ยา anti-anxiety, antidepressant และเปิดให้ระบายค.รส. ค.คับแ้นใจ/antipsychotic กรณีรุนแรง
อาจแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพด้วย
Individual psychodynamic psychotherapy
ปรับ/วิเคราะห์พฤติกรรม
Group psychotherapy
Behavior therapy
Milieu Therapy
ข้อินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการไม่ปฏิบัติตามแผนการรักษา
ขาดการดูแลตนเอง
แบบแผนการนอนหลับเปลี่ยนแปลงไป
กระบวนการคิดเปลี่ยนแปลง
บกพร่องในการสื่อสารด้วยวาจา
การนับถือคุณค่าในตนเองต่ำ
การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมบกพร่อง
แยกตัวจากสังคม
การเผชิญปัญหาไ่มีประสิทธิภาพ
เสี่ยงต่อการกระทำที่รุนแรง/ทำร้ายผู้อื่น
การพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพกับ Pt.
ฝึกให้กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม (Assertive behavior)
แนะแนวทางการแสดงความคิดเห็นด้วยวิธีที่เป็นที่ยอมรับในสังคม
ส่งเสริมทักษะที่จำเป็นทางสังคม เช่น วางแผนใช้จ่าย
ส่งเสริมให้ใช้เทคนิคกรแก้ปัญหา
แนะนำเทคนิคการคลายเครียดต่างๆ ให้ Pt. เลือกวิธีที่เหมาะสม
ฝึกให้แสดงบทบาทสมมติ (role-play) เกี่ยวกับทักษะที่เหมาะสมในการดำเนินชีวิต
ชมเชย/ให้รงเสริมทางบวกในทุกพฤติกรรที่เปลี่ยนแปลงอย่างเหมาะสม
การช่วยเหลือ
ใช้เวลานาน + ไม่ค่ยสเร็จ เนื่องจาก Pt. ไม่ตระหนักว่าไเป็นปัญหา จึงไม่เปลี่ยนแปลง
หักการพื้นฐาน คือ ให้ Pt. รู้+พัฒนาค.สามารถ/ค.เข้มแข็งภายในตน
นำไปสู่พฤติกรรมเป้าหมาย
สิ่งที่ครระมัดระวังในการสร้างสัมพันธภาพ
มีโอกาสจะเป็นสัมพันธภาพเชิงสังคม/ปฏิสัมพันธ์ทางลบสูง
บุคลิกภาพแบบ
พึ่งพา
มักแสวงหาแบบแม่ลูก
บุคลิกภาพแบบ
เรียกร้องค.สนใจ
มักแสวงหาคนรัก
บุคลิกภาพแบบ
หลงตัวเอง
มักแสวงหาการชื่นชม
บุคลิกภาพแบบ
หวาดระแวง
มักผลักไส สร้างกำแพงขวางสัมพันธภาพเพราะไม่ไว้ใจ
บุคลิกภาพ
ย้ำคิดย้ำทำ/ต่อต้านสังคม
อาจควบคุมบงการพยาบาล