Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองค์รวมในการสร้างเสริม ป้องกัน ดูแล และฟื้นฟูสภาพ…
การพยาบาลแบบองค์รวมในการสร้างเสริม ป้องกัน ดูแล และฟื้นฟูสภาพ มารดาในระยะหลังคลอดปกติ
5.1 การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของ มารดาหลังคลอด
มดลูก (Uterus)
มดลูกอยู่ระดับระหว่างสะดือกับ Public Symphysis ลดลง 1/2-1" / day 10-12 วัน จะคลำไม่พบ
ขนาดของมดลูก
7 วัน หลังคลอดระดับมดลูกจะอยู่กึ่งกลางระหว่างหัวเหน่ากับสะดือ ประมาณ 3 นิ้ว ฟุตเหนือหัวเหน่า หนักประมาณ 500 กรัม
2 สัปดาห์ หลังคลอดระดับมดลูกจะอยู่ระดับหัวเหน่า(symphysis pubis) หรือคลำไม่พบทางหน้าท้องมีน้ำหนักประมาณ 300 กรัม
6 สัปดาห์ หลังคลอดมดลูกจะมีน้ำหนักเท่ากับระยะก่อนตั้งครรภ์
คือประมาณ 50 กรัม ขนาด 3 x 2 x 1 ซม. ถือว่าสิ้นสุด กระบวนการลดขนาดของมดลูกในระยะหลังลอดสำหรับมารดา ระยะหลั
งคลอด
การวัดความสูงของยอดมดลูก
กล้ามเนื้อหน้าท้องหย่อน
กระเพาะปัสสาวะว่าง
ควรวัดเวลาเดียวกันทุกวัน
หน่วยการวัด ซม. หรือ นิ้ว
อาการปวด
เกิดในช่วง 2-3 วันหลังคลอด พบบ่อยในรายครรภ์หลัง มากว่าครรภ์แรก
ในช่วงหลังคลอด 12 ชั่วโมง มดลูกหดรัดตัว สม่ำเสมอ และแรง
ความแรง ความถี่ และความสม่ำเสมอ ของการหดรัดตัวจะลดลงหลังวันแรก
น้ำคาวปลา (Lochia)
Lochia Rubra
1-3 วัน หลังคลอด จะเป็นสีแดง ไม่เป็นก้อน หรือ ไม่เป็นลิ่มเลือด
Lochia Serosa
4-10 วัน หลังคลอด จะเป็นสีน้ำตาลอ่อน หรือสีชมพู มีจำนวนน้อยลง
Lochia Alba
11-15 วัน มีสีขาว หรือเหลืองจางๆ จำนวนน้อยมาก จนค่อยๆหมดไปใน 1 เดือน
5.2 การปรับตัวด้านจิตสังคมและบทบาท การเป็นมารดาหลังคลอด
Postpartum blue
ช่วง 2-3 วัน จะวิตกกังกล สับสน เกี่ยวกับตนเอง ลูก การแสดงออก อาจมีอาการนอนไม่หลับ เบื่ออาหาร ร้องไห้ง่าย
ระยะที่มีพฤติกรรมพึ่งพา Taking-in Phase
ใช้เวลา 1-2 วัน จะมุ่งความสนใจไปที่ตัวเอง และต้องการพึ่งพาผู้อื่นสูง ต้องการความสุขสบายของตัวเองมากกว่าที่จะนึกถึงบุตร
ระยะที่มีพฤติกรรมระหว่างพึ่งพาและไม่พึ่งพา Taking-hold Phase
ใช้เวลา 3-10 วัน มารดามีประสบการณ์มากขึ้น มีการปรับตัวจากชีวิตใหม่ ได้พักผ่อนเพียงพอและฟื้นจากการสูญเสียพลังงานในระยะคลอด มารดาจะค่อยๆ แข็งแรงขึ้น รู้สึกสบาย สนใจตนเองน้อยลง และสนใจบุตรมากขึ้น มารดาจะพึ่งพาตนเองมากขึ้น
ระยะอิสระ Letting-go Phase
เกิดหลัง 10 วัน จะเริ่มมีปฏิสัมพันธ์กับสังคมโดยในส่วนลึกของจิตใจยังห่วงใยบุตร
5.3 การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การผลิตน้ำนม
จะเริ่มมีการผลิตน้ำนม การกระตุ้นการผลิตน้ำนมโดยการดูดนมของทารก กระตุ้น Hypothalamus ให้มีการหลั่ง Hormone Plolactin จากต่อม Anterior Pituitary
การหลังน้ำนม
เมื่อมีการดูดนมมารดา Posterior pituitary gland จะปล่อย Hormone Oxytocin ทำให้เนื้อเยื่อรอบๆ alveoli หดตัว เมื่อทารกดูดนมอาจจะมีน้ำนมไหลในข้างที่ไม่ได้ดูดได้ reflex การขับน้ำนม อาจจะถูกยับยั้งเนื่องจาก ความวิตกกังวล ความอ่อนเพลีย ความเจ็บปวด ความขัดแย้งทางอารมณ์ ความเศร้าโศก
เต้านม และกลไกการหลั่งน้ำนม
น้ำนมในช่วงแรก 1-2 วัน หรือ 2-3 วัน จะเรียก Colostrum เป็นน้ำนมที่มี Protein สูง เกลือแร่สูง และ lgA ป้องกันโรคหลายอย่าง ช่วยขับขี้เทา 5-7 วัน จะเป็น Milk มาแทน
การสร้างน้ำนมมากหรือน้อย จะขึ้นกับการดูด การปฏิบัติตัวของมารดา สิ่งแวดล้อม
วิธีการให้นมบุตร
ให้ลูกอมหัวนมลึกๆ ถึง Areola จึงกระตุ้นให้มีการหลั่ง Hormone Prolactin และ Hormone Oxytocin กระตุ้นการสร้างน้ำนมและขับน้ำนม
ให้ลูกดูดบ่อยๆ อย่างน้อยทุก 2-3 ชั่วโมง ในวันแรกๆ เพื่อกระตุ้นการหลั่งน้ำนม
ให้ลูกดูดทั้ง 2 ข้าง 15 นาที ในมื้อถัดไปให้ลูกเริ่มดูดจากข้างที่ค้างไว้ก่อนสลับกันไป
แม่ใช้นิ้วกดคางเบาๆ หรือเขี่ยข้างมุมปาก เพื่อให้เด็กอ้าปากก่อนถอนหัวนมออกจากปาก
จับเด็กให้นั่ง หรืออุ้มพาดบ่า ลูบหลังให้เรอ ป้องกันท้องอืด และสำรอก
อาการแสดงว่าลูกได้รับน้ำนมแม่เพียงพอ
ลูกสงบสบาย พักได้ไม่ร้องหิว ระหว่างมื้อนม
มีอาการที่แสดงว่าแม่มีน้ำนม ลูกได้รับน้ำนม
ได้ยินเสียงกลืนน้ำนมของลูก
มีน้ำนมไหล หรือแม่รู้สึกมีน้ำนมไหลออกมา
อาการที่ต้องระวัง
หลังเกิด 3 วัน ปัสสาวะน้อยกว่า 6 ครั้ง/วัน
ดูดนมแม่น้อยกว่า 8 ครั้ง/วัน
เด็กหิวตลอด ร้องกวน ไม่พัก กระวนกระวาย
เด็กหลับนานระหว่างมื้อนม (หลับนานเกิน 4-6 ชั่วโมง)
แม่มีน้ำนม แต่ขณะลูกดูดนม ไม่ได้ยินเสียง หรือไม่เห็นการกลืนผ่านลำคอ
เจ็บหัวนมขณะให้ลูกดูดนม
แม่มีนมคัดแข็ง หลังให้นมเต้านมไม่แฟบลง
น้ำหนักลด มากกว่า 7% ของน้ำหนักแรกเกิด ใน 3-4 วันแรก
ท่าอุ้มและประคองเต้านม
Cradle Hold
Cross Cradle Hold
Football or Clutch Hold
Side-lying position
C Hold Technique
U Hold Technique
V Hold Technique
ปัญหาที่พบบ่อย
น้ำนมมารดามีน้อย น้ำนมไม่พอ
เกิดจาการทารกดูดไม่ถูกวิธีหรือดูดไม่ถูกต้อง
การพยาบาล
ในระยะ 30 นาที แรกหลังคลอดควรให้ทารกไปดูดนมมารดาเร็วที่สุด
ดูแลให้นมทารกทุกครั้งที่ทารกต้องการอย่างสม่ำเสมอ
ให้มารดาให้นมบุตรเพียงอย่างเดียว โดยไม่ให้น้ำหรือนมผสมเพิ่ม
ดูแลได้พักผ่อนเต็มที่ขณะทารกหลับ
ดูแลการรับประทานอาหารและน้ำเพียงพอ
น้ำนมมารดามีมาก
มีการสร้างปริมาณมากและเกินความต้องการของทารก
การพยาบาล
แนะนำให้มารดาบีบน้ำนมออกบางส่วนแล้วจึงให้ทารกมาดูด
แนะนำให้มารดาให้นมบุตรข้างเดียวในแต่ละมื้อ เพื่อลดการกระตุ้นสร้างน้ำนมให้ลดลง
เต้านมคัด
เกิดจากการที่มารดาให้ทารกดูดนมช้าเกินไป
การพยาบาล
แนะนำมารดานำเด็กไปดูดนมเร็วที่สุด
ใช้กระเป๋าน้ำแข็งหรือผ้าเย็นประคบ
Breast support
นวดเต้านม
ให้ยาแก้ปวด
ห้าม Pump น้ำนมออก
หัวนมแตก
เกิดจากการดูดไม่ถูกวิธี
การพยาบาล
แนะนำให้มารดานำบุตรดูดนมข้างที่เจ็บน้อยกว่า เพื่อกระตุ้นให้เกิด Let down reflex
บีบน้ำนมออกเล็กน้อยแล้วทาบริเวณหัวนมและรอบๆ
ถ้าหัวนมแตกรุนแรงอาจต้องใช้หัวนมปลอมครอบ
ถ้ามีอาการปวดหัวนมมากให้ยาบรรเทาปวด
หัวนมสั้น
การพยาบาล
ก่อนนำทารกดูดนม ให้มารดาทำ Hoffman's maneuver ประมาณ 3-5 ครั้ง และดึงหัวนมตรงๆ เบาๆ 3-5 ครั้ง
ให้ทารกคาบหัวนมให้ลึกจนเหงือกกดบริเวณลานนม
อาจใช้ปทุมแก้วคลอบหัวนมตลอดเวลา
หัวนมบางคนอาจสั้นหรือแบน
หัวนมบอดหรือบุ๋ม
เกิดจากสภาพทางกายวิภาคของหัวนมที่เป็นอยู่เดิม
การพยาบาล
ช่วยเหลือตั้งแต่ตั้งครรภ์ โดยแนะนำให้ Hoffman's exercise
กรณีทารกไม่สามารถคาบหัวนมได้ จัดท่าให้ทารกนอนอยู่ข้างลำตัวมารดาโดยใช้มือมารดาประคองเต้านมไว้
หากทารกดูดนมมารดาไม่เพียงพอ แนะนำให้มารดาบีบน้ำนมใส่แก้วและป้อนโดยวิธี cup feeding
เต้านมคัดควรประคบเต้านมด้วยน้ำอุ่นหรือบีบน้ำนมออกบางส่วน
5.4 การส่งเสริมสุขภาพมารดาหลังคลอด
การดูแลความสะอาดและการป้องกัน การติดเชื้อ
การติดเชื้อที่แผลฝีเย็บ และโพรงมดลูก และปีกมดลูก
ใช้น้ำเปล่า และสบู่ทำความสะอาดได้ การเช็ดจากหน้าไปหลังห้ามย้อนศร ใส่ผ้าอนามัยจากหน้าไปหลัง เปลี่ยนผ้าอนามัยบ่อยๆ อย่างน้อยทุก 4 ชั่วโมง
อาการผิดปกติที่ควรมา รพ. ก่อนวันนัด/การมาตรวจตามนัด/การมี เพศสัมพันธ์หลังคลอด
มีไข้ หนาวสั่น
เต้านมแดง เจ็บ เป็นตุ่มหนอง
ปวดมดลูกมากกว่าตอนอยู่โรงพยาบาล
แผลบวม เจ็บตึง มีเลือด/หนองไหลจากแผล
น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น ออกมากว่าวันละ 4 ผืน ชุ่มผ้าอนามัย
ปัสสาวะแสบ ขัด มีกลิ่น ปัสสาวะขุ่น
ถ่ายอุจจาระลำบาก
นอนไม่หลับ โดยไม่ทราบสาเหตุ
น้ำคาวปลาแดง 7 วัน หรือหายแล้วกลับมาใหม่
อาหาร/การพักผ่อน/การขับถ่าย/การออกกําลังกาย
อาหาร
หลังคลอดความต้องการอาหารของร่างกายจะมีมากกว่าธรรมดา เนื่องจากเสียเลือดและพลังงาน
การพักผ่อน
ควรได้รับมีการพักผ่อนและนอนหลับให้เพียงพอ เป็นการผ่อนคลายความตึงเคลียดจากการคลอด และยังช่วยสร้างน้ำนมเป็นไปด้วยดี
การขับถ่าย
ควรขับถ่ายปัสสาวะครั้งแรกภายใน 6-8 ชั่วโมง หลังคลอดรก
เมื่อได้พักและรับประมานอาหาร มักจะถ่ายได้ประมาณ วันที่ 2-3 หลังคลอด
การออกกำลังกาย
ควรเริ่มให้บริหารร่างกาย เมื่อ 24 ชั่วโมงหลังคลอด ช่วยให้อวัยวะต่างๆ กลับคืนสู่สภาพปกติเร็วขึ้น
การให้คําแนะนํามารดา เรื่องการเลี้ยง ลูกและสังเกตอาการผิดปกติของลูก
สังเกตทารกร้องบ่อย นอนมากกว่าตื่น การงอแขนขาเมื่อร้องดิ้น
การขับถ่ายอุจจาระจำนวนครั้งต่อวัน
การขับถ่ายปัสสาวะจำนวนครั้งต่อวัน
สีผิว ใบหน้า แขนขา ลำตัว
การติดเชื้อที่ตา สะดือ บริเวณที่ฉีดวัคซีน ระบบทางเดินหายใจ ท้องเสีย ผื่นแพ้ตามตัว
5.5 การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดา ทารก หลังคลอดและครอบครัว
Postpartum blue
ช่วง 2-3 วัน จะวิตกกังกล สับสน เกี่ยวกับตนเอง ลูก การแสดงออก อาจมีอาการนอนไม่หลับ เบื่ออาหาร ร้องไห้ง่าย
ระยะอิสระ Letting-go Phase
เกิดหลัง 10 วัน จะเริ่มมีปฏิสัมพันธ์กับสังคมโดยในส่วนลึกของจิตใจยังห่วงใยบุตร
ระยะที่มีพฤติกรรมพึ่งพา Taking-in Phase
ใช้เวลา 1-2 วัน จะมุ่งความสนใจไปที่ตัวเอง และต้องการพึ่งพาผู้อื่นสูง ต้องการความสุขสบายของตัวเองมากกว่าที่จะนึกถึงบุตร
ระยะที่มีพฤติกรรมระหว่างพึ่งพาและไม่พึ่งพา Taking-hold Phase
ใช้เวลา 3-10 วัน มารดามีประสบการณ์มากขึ้น มีการปรับตัวจากชีวิตใหม่ ได้พักผ่อนเพียงพอและฟื้นจากการสูญเสียพลังงานในระยะคลอด มารดาจะค่อยๆ แข็งแรงขึ้น รู้สึกสบาย สนใจตนเองน้อยลง และสนใจบุตรมากขึ้น มารดาจะพึ่งพาตนเองมากขึ้น
5.6 การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มี ภาวะเบี่ยงเบนทางสุขภาพ
Reactionary fever
นอนพัก ดื่มน้ำ และสารน้ำตามแผนการรักษา
After pain
อาการปวดมดลูกมากกว่าปกติอาการปวดมดลูกเกิดจากการหดตัวและคลายตัวของ กล้ามเนื้อมดลูกมักเกิดในมารดาครรภห์หลัง ส่วนในมารดาครรภ์แรกปกติจะไม่มีอาการปวด มดลูกเนื่องจากกล้ามเนื้อมดลูกยังมีความดันตัวสูงยกเว้นในรายท่ีมีการยืดขยายของมดลูกมาก
เจ็บแผลฝีเย็บ
อาการปวดแผลฝีเย็บเกิดข้ึนเนื่องจากการตัดหรือการฉีกขาดของการคลอด ดังนั้นในระยะแรกหลังคลอด มารดาควรสังเกตฝีเย็บ อาจมีการบวมเลือด (HEMATOMA) ถ้ามีการ ติดเชื้อจะมีอาการปวด บวม แดง ร้อน มารดาควรกลับไปพบแพทย์
ปัสสาวะลําบาก
หลังคลอด 8 ชั่วโมง มารดาควรถ่ายปัสสาวะได้เอง แต่ในบางรายอาจถ่ายปัสสาวะลำบากใน 1-2 วันแรกหลังคลอด