Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิด, ตัวอย่างการบันทึกทางการพยาบาลทารกแรกเกิด, T, P, R,…
การพยาบาลทารกแรกเกิด
6.1
6.1 การประเมินสภาพทารกแรกเกิด
-การเปลี่ยนแปลงทางสรีระของทางทารกแรกเกิด Part 1
Adaptation of respiratory system
Cause: ความเย็น
ความเจ็บปวด
จากการสัมผัส
มองเห็น
การได้ยินต่างมีส่วนสำคัญในการชักนำและควบคุมให้มีการหายใจ
Asphyxia (as-FIX-ee-uh) lack of oxygen and blood flow to the brain. Birth asphyxia happens when a baby's brain and other organs do not get enough oxygen and nutrients before, during or right after birth.
Effect: ภาวะ asphyxia เป็นสิ่งกระตุ้นการหายใจของทารกที่รุนแรงที่สุด
อัตราหายใจปกติระหว่าง 30-60ครั้ง/นาที เฉลี่ย 40ครั้ง/นาที
[ท่องจำ]
Fetal Heart Rate 110,120-160 beat/min
อัตราการเต้นของหัวใจอยู่ในช่วง
100 –150 /นาที Pulse เฉลี่ย 140ครั้ง/นาที (140±20)
อาจพบสูงถึง 180ครั้ง/นาที ใน 4ชั่วโมง หลังคลอด
หลังตัดสายสะดือ
umbilical blood flowลดลง= pressure ลด
left atrial pressureสูงขึ้น จากการหายใจ
rightและleft atriumลดลง=foramen ovale close
PaO2, pH=เพิ่มขึ้น ,PaCO2= ลดลง ทำให้
ductus arteriosus ปิด
Adaptation of the cardiovascular system
renal vascular system
placental transfusion และ การที่ tubular reabsorption ของ renal tubule ยังไม่ดีพอ
-> diuresis ซึ่งจะดีขึ้นเองภายใน 48-72 ชม.
ปัสสาวะตั้งแต่อยู่ในครรภ์(ประมาณ 5 เดือน) เพื่อสร้าง amniotic fluid
มักปัสสาวะทันทีแรกเกิด, ไม่เกิน 48 hrs. (ถ้าเกินผิดปกติ)
ปัสสาวะครั้งแรกจะใส สีเหลืองอ่อน ไม่มีกลิ่น บางครั้งอาจเป็นสีเหลืองอมชมพูเนื่องจากมี uric acid สูง
การทำงานของไตไม่สมบูรณ์ การดูดกลับน้อย=> นํ้าหนักลด
ปริมาณปัสสาวะ ประมาณ 30-50 cc/วัน ใน 2-3 วันแรก, 200 cc/วัน ในสัปดาห์ที่2ขึ้นไปจำนวนครั้ง 10-20ครั้ง/วัน
Blood volume
plasma volume จะมีค่าคงที่กว่าคือประมาณ 50 ml/kg Systolic
ในวันแรกๆ 50-60 mmHg
ในวันที่ 4 ... 60-80 mmHg
physiologic anemia
ในระยะ 1-2 เดือนแรก
หลังคลอด
เม็ดเลือดแดงที่มี fetal hemoglobin จะถูกทำลายหมดไป
ในขณะที่
ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดที่มี adult hemoglobin ไม่ทัน
->
จึงเกิดภาวะ physiologic anemia
ทารกคลอดก่อนกำหนด จะเกิดขึ้นเร็วและรุนแรงกว่าทารกคลอดครบกำหนด
Blood coagulation
2-3 วันแรกมีการแข็งตัวของเลือดช้าเพราะ prothrombin complex ตํ่า(FacterII (2), VII (7), IX (9), X (10)) เกิดเลือดออกง่าย
หลังคลอดทันที ฉีด วิตามิน k
coagulationproteinจะค่อยๆเพิ่มขั้นในสัปดาห์แรกเมื่อร่างกายได้วิตามิน k
Thermal regulation and thermal adaptation
ทารกไม่สามารถใช้ glycogen จากกล้ามเนื้อ(non-shivering thermogenesis )
การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิร่างกายถูกควบคุมโดยสมองส่วน hypothalamus โดยการสร้างสมดุลย์ระหว่างการเพิ่มและการสูญเสียความร้อน (heat gain and heat loss)
ภาวะ hypothermia (for newborn <36.5 C)
เกิด -> ความเครียดทาง
metabolic เลือดเป็นกรด
กระทั่งการทำงานของอวัยวะต่างๆ ผันแปรไป ->
เกิดภาวะhypoglycemia ได้ง่าย
การกระตุ้นผ่านทางการหลั่ง noradrenaline ในบริเวณ sympathetic nerve endings
cyclic AMP เข้าสู่กระแสเลือด + enzyme protein kinase
lipase ให้ย่อย triglyceride ในชั้น brown fat
[จำ]
สลายglycogen
ในตับ
เพิ่มmetabolic rate
heat loss
conduction = นำ จุด A ไป จุด B = สัมผัส
convection= พัดพาความร้อน
evaporation = ระเหย
เด็กตัวเปียก = น้ำที่เปียกบนตัว จะทำให้น้ำในตัวเด็กระเหย
radiation = การแผ่รังสี
ได้รับไอความร้อน e.g. solar radiation
hypothermia
very important [prevent it!!]
core temperature ของร่างกายทารกตํ่ากว่า 36 C
Effect
enzymes ที่เกี่ยวกับการหายใจระดับเซลล์หยุดทำงาน
incomplete respiration เกิด acid retention, acidosis
arrhythmia หรือหยุดทำงานเมื่อ core temperature ลดลงตํ่ากว่า 35 Celcious
ระบบหายใจ, ระบบประสาทส่วนกลาง ไต และเกิด ภาวะ sclerema (ผิวหนังแข็ง) ในที่สุด
Adaptation of fluid and electrolytes homeostasis
การดูดซึมนํ้าจากทางเดินหายใจและปอดในระยะแรกหลังคลอด
การผูกสายสะดือช้า ทำให้เลือดจากมารดาเข้าสู่ทารกมากกว่าปกติ
hormones ที่ถูกหลั่งออกมาเพื่อตอบสนองต่อ ภาวะ stress ในระยะปริกำเนิดซี่งได้แก่ Adrenalcorticoidsและ ADH จะยังคงอยู่ในกระแสเลือดทำให้เกิด water conservation effect
สัดส่วนของ ECF นี้ จะลดลงอย่างรวดเร็วภายใน 2-3 วันหลังคลอด
ถูกขับออกไปโดยทางผิวหนัง
ทางเดินหายใจ
ปัสสาวะและอุจจาระ
Dehydration
Mild dehydration
ถือว่ามีการขาดนํ้าประมาณ 3-5 % ของนํ้าหนักตัว (MAX)
ลักษณะริมฝีปากแห้ง, ผิวแห้ง , ปัสสาวะเริ่มน้อยลง,
ไม่มีความผิดปกติของ skin turgor, ไม่มี sunken eyeball หรือ anterior fontanelledepression
Moderate dehydration
ขาดนํ้าประมาณ 7 -10 % ของนํ้าหนักตัว
ทารกจะมีลักษณะริมฝีปากและเยื่อบุต่างๆแห้ง ปัสสาวะน้อยลงชัดเจนแล้ว
มี sunken eyeball และ depressed fontanelle
ยังไม่มีความผิดปกติของ skin turgor หรือ vital signs
Severe dehydration
ขาดนํ้า > 10% ของนํ้าหนักตัว
ทารกจะมี instability of vital signs (เช่น ชีพจรเบาและเร็ว ความดันโลหิตลดลง หรืออาจจะมีลักษณะของ shock )
มีการเปลี่ยนแปลงของระดับความรู้สึกตัวโดยทารกมักจะซึมลง (lethargy)
oliguria หรือ anuria และมี azotemia(ภาวะที่ไตทำงานลดลงอย่างรวดเร็ว เช่น shock) ในที่สุด
Calcium metabolism
ประมาณ 75% ของปริมาณ calcium ในร่างกายทารกทั้งหมดจะได้รับจากมารดาผ่านทางรก
การถ่ายเท calcium เกิดขึ้นหลังจากอายุครรภ์ 28 สัปดาห์ไปแล้ว
ทารกคลอดก่อนกำหนดจึงเกิดภาวะ hypocalcemia ได้บ่อยกว่าทารกแรกเกิด
ระดับ calcium ในเลือดในทารกแรกคลอดจะตํ่าที่สุดใน 24-48 ชั่วโมงหลังคลอด โดยถือว่า hypocalcemia
อาการและอาการแสดง
ของ
hypocalcemia
คล้ายกันกับอาการของ
hypoglycemia
ไม่มีอาการใดจำเพาะ (nonspecific) เช่น
jitteriness
seizure แต่สามารถแยกจากอาการชักเนื่องจาก hypoglycemia ได้โดย
hypocalcemia จะมี muscletoneสูง
-การเปลี่ยนแปลงทางสรีระของทางทารกแรกเกิด Part 2
Energy metabolism
ทารกแรกคลอดอาศัย glucose จากกระบวนการ glycolysis เท่านั้น
จนกว่าจะได้ glucose จากแหล่งอื่นนอกร่างกาย
ภายใน 2-3 ชั่วโมงหลังคลอดทารกจะใช้ glucose หมด
neonatal hypoglycemia
ทั่วไปถือเอา
ระดับนํ้าตาลในเลือด ตํ่ากว่า 35 mg% ในทารกคลอดครบ
กำหนด
ตํ่ากว่า 25 mg% ในทารกนํ้าหนักน้อย
หลังคลอดนานเกิน 12 ชั่วโมงทารกควรจะมี นํ้าตาลในเลือดเกิน 45 mg%
Hypoglycemia
อาการและอาการแสดงของ hypoglycemia
มีได้ตั้งแต่การร้องเสียงสูง, ร้องเบาลง, หรือ cyanosis, apnea, jitteriness (อาการสั่นระรัวของแขน ขา และคาง เมื่อทารกเคลื่อนไหวและร้องไห้)
apathy
ชัก หรือแม้แต่ไม่มีอาการอะไรเลยทั้งๆ ที่มีระดับ glucose ตํ่า
Bilirubin metabolism and hyperbilirubinemia
จากการทำลายเม็ดเลือดแดงทารก (fetal blood) ซึ่งมีอายุสั้น
enzyme ที่เกี่ยวกับ bilirubin metabolism
ยังไม่ปกติ
physiologic jaundice
ABO incompatibility
, congenital spherocytosis (เม็ดเลือดแดงผิดปกติมีลักษณะป่องกลม ขนาดเล็ก)
hemolysis
overproduction
หรือ
ขับ bilirubin ออกได้น้อยลง
หรือทั้งสองอย่าง
patho
logical jaundice
phototherapy
เปลี่ยนโครงสร้างทางเคมีของ unconjugated bilirubin ใน extravascular tissue
โดยใช้แสงที่มีความยาวคลื่น 450+25 nm
ถ้าปริมาณของ bilirubin เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีความเสี่ยงที่จะเกิด kernicterus
อาจ มีความจำเป็นที่จะต้องลด bilirubin ลงอย่างรวดเร็วโดยการเปลี่ยนถ่ายเลือด (exchange transfusion)
anemia ในทารก
ภาวะ anemia ในทารก (Hct<40 % ในทารกคลอดครบกำหนด)
สาเหตุ 3ประการ
-การเสียเลือด (blood loss)
-การทำลายเม็ดเลือดแดง (hemolysis)
-การลดการสร้างเม็ดเลือดแดง (decreased erythrocyte production)
ภาวะ erythroblastosis fetalis
สาเหตุที่รุนแรงที่สุดของ hemolysis
สาเหตุสำคัญมาจาก fetal-maternal blood incompatibility โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Rh incompatibility
Neonatal host defense mechanism
ทารกแรกเกิดมี neutrophil storage pool ตํ่ากว่าผู้ใหญ่
เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย
ทารกไม่สามารถสร้าง neutrophil และ macrophage ขึ้นใหม่
จาก stem cell ได้
neutrophil ซึ่งมีน้อยอยู่แล้วถูกใช้หมดไป
humoral immunity หรือ HMI
การสร้าง opsonin ในทารกแรกเกิดจะน้อยกว่าปกติ เนื่องจากมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อ antigen น้อย
immunoglobulin จากมารดาผ่านทาง placenta หยุดลง IgG,IgM
ไม่สามารถสร้าง type-specific antibodies ได้เนื่องจาก B-lymphocyte ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงไปเป็น plasma cell และ T-lymphocyte เพื่อสร้าง antibody
-การตรวจร่างกายตามระบบ
-การตรวจร่างกายทารกแรกเกิดเพื่อประเมินอายุครรภ์ (Ballard’s Score)
การป้องกันการติดเชื้อในทารกแรกเกิด
ทารกที่ป่วย จึงมีความสำคัญมาก และสามารถทำได้โดย
-การเคร่งครัดต่อกระบวนการไร้เชื้อเมื่อจับต้องทารก หรือทำหัตถการต่าง ๆ
-การจัดให้ผู้ป่วยอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีเชื้อโรคน้อยที่สุด
การให้ยาปฏิชีวนะป้องกันการติดเชื้อเมื่อมีข้อบ่งชี้ เช่นในผู้ป่วยที่ต้องรับการผ่าตัด
6.2
6.2 การพยาบาลทารกแรกเกิดประจําวัน
Objectives
ให้ทารกได้รับความสุขสบาย
ได้รับสารอาหารจากนมมารดาอย่างเพียงพอ
ป้องกันภาวะผิดปกติต่างๆที่อาจเกิดขึ้นได้
1 . การส่งเสริมความสะอาดของร่างกายและความสุขสบายของทารก
อาบน้า หรือเช็ดตัว และสระผมให้ทารกทุกวันวันละครั้ง
การอาบน้า และสระผม
เพื่อกระตุ้นให้มีการไหลเวียนโลหิตดี เพื่อสังเกตอาการผิดปกติต่างๆ และเพื่อให้ได้รับความสุขสบายขึ้น
ขั้นตอนการอาบน้า สระผม
ให้สระผมก่อนอันดับแรก หรือถ้าทารก ขับถ่ายให้เช็ดทาความสะอาด อวัยวะสืบพันธ์และก้นให้สะอาดก่อน ลงอ่างอาบน้า
Steps
1
เตรียมเสื้อผ้าและอุปกรณ์ให้พร้อม
2 ตรวจสอบอุณหภูมิกายทารกไม่ควรต่ากว่า 36.5 C
สังเกตอาการทั่วไปของทารกตั้งแต่ศีรษะจรดเท้า เพื่อตรวจหาความผิดปกติ
ก่อนอาบน้าควรทดสอบอุณหภูมิของน้าโดยการใช้ศอกจุ่มหรือใช้หลังมือแตะ
ห่อตัวทารก แบบmummy restraint เปิดบริเวณใบหน้าและศีรษะไว้
ใช้ผ้าถูตัวที่นิ่มหรือฟองน้า ชุบน้าบิดให้แห้ง เช็ดหน้า จมูก ปาก ของทารกให้สะอาด
สระผม โดยอุ้มทารกในท่า
Football hold
ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วกลางพับใบหูทารกปิดไว้เพื่อป้องกันน้าเข้าหู
หลังจากเช็ดผมเสร็จเปิดผ้าเช็ดตัวที่ห่อทารกออก อุ้มทารกลงอ่างอาบน้าอาบด้านหน้าและด้านหลัง ก้น ฟอกสบู่และล้างออกให้สะอาด
อุ้มทารกขึ้นจากอ่างเช็ดตัวให้แห้ง ไม่ควรเทโรยแป้ง ลงบนตัวทารกเพราะแป้งจะฟุ้งกระจายสู่ระบบทางเดินหายใจ
หลังจาก สระผม อาบน้า เสร็จ
1.ทาความสะอาดตา โดยใช้สาลีชุบ 0.9 % NSS หรือน้าต้มสุกเช็ดตาจากหัวตาไปหางตาทั้งสองข้าง
ทาความสะอาดสะดือโดยใช้ไม้พันสาลีชุบ Alcohol
70 %
สะดือเปียก ควรเริ่มเช็ดจากปลายตัดลงมาจนถึงโคนสะดือและเช็ดรอบๆสะดือ
สะดือแห้งจะค่อยๆแห้งเปลี่ยนเป็นสีดา ควรเช็ดจากรอบโคนสะดือขึ้นไปสุดท้ายที่ปลายตัด
การส่งเสริมการได้รับสารอาหารและ
การขับถ่าย:
การเจริญเติบโต ปกติ 2-3 วันแรกเกิด ทารกจะมีน้าหนักลด
ไม่เกิน10 %หลังจากนั้นจึงจะค่อยๆเพิ่มขึ้น
ถ้าได้รับนมเร็วน้า หนักจะลดลงน้อย และน้า หนักจะเพิ่มขึ้น
ประมาณวันที่ 10 ต่อจากนั้นจะเพิ่มขึ้นด้วย
อัตราคงที่ประมาณ 25 กรัมต่อวัน
ดูและทารกให้ได้รับนมมารดาอย่างเดียว
ทารก
ควรได้รับนมมารดาอย่างน้อยวันละ 9 ครั้ง
ทารกได้รับนมมารดา
แล้วพักผ่อนได้ไม่ร้องกวน น้าหนักตัวทารกลดลงไม่
เกิน 10% ผิวหนังไม่เหี่ยว สามารถถ่ายปัสสาวะได้วัน
ละ 5-6 ครั้ง ถือว่าได้รับเพียงพอ
น้านมมารดา100 มิลลิลิตร ให้พลังงาน 71 แคลอรี่
ในแต่ละวันทารกต้องการน้านมและน้าแตกต่างกันตามอายุ
LATCH SCORE
(คะแนนการเข้าเต้า)
การประเมินการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ มีจุดเริ่มต้นที่การเข้าเต้า หากคะแนนการเข้าเต้ามากกว่า 8 ขึ้นไปจะสัมพันธ์กับความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
L=Latch การอมหัวนมและลานนม
0
ง่วงหรือลังเลจนอมดูดหัวนมไม่ได้
1
ใช้ความพยายามหลายครั้งหรือกระตุ้นจนอมหัวนมและลานนม
2
คาบหัวนมและลานนม ลิ้นแตะเหงือกล่าง ริมฝีปากบานออก ดูดนมเป็น
จังหวะ
A=Audible swallowing การได้ยินเสียงกลืนน้ำนม
0
ไม่ได้ยิน
1
ได้ยิน 2-3 ครั้งหลังกระตุ้นให้ดูดนม
2
อายุ<24ชั่วโมง ได้ยินเป็นช่วงๆ อายุ>24ชั่วโมง ได้ยินบ่อยครั้ง
T=Type of nipple
0
หัวนมบอดบุ๋ม (inverted)
1
หัวนมแบน (flatnipple)
2
หัวนมชี้พุ่งปกติหรือหลังถูกกระตุ้น (everted nipple)
C= Comfort breast and nipple รู้สึกสบายเต้านมและหัวนม
0
เต้านมคัดมาก หัวนมแตกเป็นแผล เลือดออกและเจ็บรุนแรงมาก
1
มีรอยแดงบริเวณเต้านม หัวนมมีรอยพองเล็กน้อย และเจ็บรุนแรงปานกลาง
2
เต้านมและหัวนมนุ่ม อาจจะรู้สึกเจ็บเล็กน้อยขณะลูกดูดนม
H=Hold ท่าอุ้มลูก หรือจัดท่าลูกขณะให้นม
0
ต้องการความช่วยเหลือของเจ้าหน้าที่อย่างเต็มที่
1
ต้องการความช่วยเหลือของเจ้าหน้าที่บ้าง เช่น ยกหัวเตียงจัดหมอนรอง
2
ไม่ต้องการความช่วยเหลือของเจ้าหน้าที่ แม่สามารถอุ้มและจัดท่าลูกด้วย
ตนเอง
2 . การส่งเสริมการได้รับสารอาหารและการขับถ่าย
ทารกที่ได้รับนมมารดาจ่ายอุจจาระเป็นสีเหลืองทองค่อนข้างเหลวเป็นเนื้อเดียวกัน มีกลิ่นเปรี้ยวเนื่องจากมีกรดแลกติคและจะถ่ายวันละ 3 4 ครั้งต่อวัน
ควรดูแลการขับถ่ายอุจจาระให้เป็นปกติ หากพบว่าทารกเคยถ่ายขี้เทาได้เองมาแล้วหลังจากนั้นไม่ถ่ายอีกใน 2 4 ชั่วโมง อาจกระตุ้นโดยการใช้ปรอทวัดทางทวารหนักหล่อลื่นด้วยวาสลิน
การขับถ่าย
ใน 1-2 วันแรก
จะถ่ายไม่บ่อย
เพียงวันละ 1-2 ครั้ง และ
อุจจาระจะเหนียวสีเขียวเข้ม
ถึงดาคล้ายน้ามันดิน เรียกว่า
ขี้เทา (meconium)
ในวันที่ 3- 4 หลังคลอด
(transitional stool)
อุจจาระมีปริมาณมากขึ้น
ถ่ายเฉลี่ย 3-4 ครั้งต่อวัน
หลังจากวันที่ 4
เด็กทารกที่
กินนมแม่อย่างเดียวจะมี
อุจจาระนิ่มจนะสีเหลืองทองถึง
เหลว คล้ายโจ๊กใส่ฟักทอง
ถือว่าปกติไม่ใช่อาการ
ท้องเสียแต่อย่างใดในวันที่3- 4
หลังคลอด
3 การส่งเสริมการพักผ่อน
ทารกภายหลังอาบน้าและได้รับนมมารดาแล้วจะหลับได้นาน
ทารกบางรายอาจนอนในช่วงกลางวันและตื่นกลางคืน ทาให้
มารดาพักผ่อนได้น้อย
พยาบาลควร
แนะนาให้มารดาให้นมในกลาวงวันทุก 2-3 ชั่วโมง
และปลุกให้ทารก ตื่นมารับนม
4 การส่งเสริมการได้รับภูมิคุ้มกันโรค
ทารกก่อนออกจากโรงพยาบาลควรได้รับวัคซีนตามปกติ
วัคซีนป้องกันวัณโรคและป้องกันไวรัสตับอักเสบบี
พยาบาลควรอธิบายให้ทราบวัคซีนที่ได้รับและรวมถึงการได้รับวิตามินเค
5 การป้อกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
5.1สังเกตพบการหายใจช้ากว่า 40 ครั้งต่อนาทีหรือเร็วกว่า60 ครั้งต่อนาที(ปกติ40-60ครั้งต่อนาที)สังเกต ชีพจรและอุณหภูมิ
5.2
การอาเจียน สังเกตลักษณะ ปริมาณ สี กลิ่น
5.3
ผิวหนัง สังเกตสี ลักษณะของผิวและความผิดปกติต่างๆ เช่น ปลายมือ ปลายเท้าและริมฝีปากเขียว
5.4
ตาเสียงร้อง
5.5
การดูดและการกลืนการขับถ่ายอุจจาระปัสสาวะ
5.6
บันทึกอาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง
6 ส่งเสริมทารกให้ได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
6.1
การจัดสถานที่สาหรับทารก และเครื่องใช้ของทารกต้องสะอาดและเหมาะสมกับสภาพอากาศ
6.2
การทาความสะอาดร่างกาย อาหารสาหรับทารก การขับถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ การนอนหลับท่านอนของทารก
6.3
การป้องกันการติดเชื้อและการได้รับภูมิคุ้มกัน
6.4
ความต้องการของทารกเกี่ยวกับการสัมผัส การอุ้ม การกอด และความสุขสบายอื่นๆ
6.5
สังเกตอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นและการดูแลเช่น ตัวเหลือง ไข้
6.6
สังเกตอาการผิดปกติเกี่ยวกับการติดเชื้อ ได้แก่
ได้แก่
ตาอักเสบ ฝ้าในปาก สะดืออักเสบ การติดเชื้อทางเดินหายใจ ตุ่มหนองตามผิวหนัง ท้องเดิน
เป็นต้น
6.7
การตรวจสุขภาพตามนัดของทางโรงพยาบาล
6.8
การรับ
สูติบัตร
แนะนาให้ทราบถึง
ขั้นตอนการรับสูติบัตร
ตามระเบียบของโรงพยาบาล รวมทั้งการ
แจ้งเกิดและแจ้งย้าย
เข้าในเขตท้องที่ของบิดาหรือมารดา ซึ่งควร
ทาภายใน 15 วันหลังทารกเกิด
กิจกรรมการพยาบาลทารกในระยะแรกรับย้าย
ศึกษาข้อมูลประวัติ
ตรวจสอบความถูกต้องของเพศและป้ายข้อมือทารกทันทีแรกรับ
ตรวจร่างกายและสัญญาณชีพ
ดูแลความอบอุ่นและความปลอดภัยของทารก
ดูแลความสะอาดและความสุขสบายของร่างกายทารก
ประมินความสามารถในการดูดกลืน
ดูแลเรื่องการขับถ่ายของทารก
ตรวจสอบการได้รับวิตามินเคและดูแลให้ได้รับวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบีเข็มที่ 1
จดบันทึกปัญหาและกิจกรรมทางการพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพและตรวจร่างกายเพื่อประเมินภาวะแทรกซ้อนทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลความอบอุ่นและความสุขสบาย และการพักผ่อนของทารกตลอดเวลา
ทาความสะอาดร่างกาย ตา สะดือ และสังเกตภาวะแทรกซ้อนวันละครั้งภายหลังการอาบน้า
ดูแลการขับถ่ายและดูแลความสะอาดหลังการขับถ่ายทุกครั้ง
ดูแลให้ได้รับนมมารดาอย่างน้อยวันละ9 1010ครั้งและจับเรอลมเพื่อป้องกันท้องอืด
ประเมินการเปลี่ยนแปลงน้าหนักตัวของทารกเพื่อค้นหาภาวะผิดปกติวันละครั้ง
ส่งเสริมสัมพันธภาพกับมารดา บิดา และครอบครัว
ดูแลให้ทารกได้รับการตรวจเลือดเพื่อคัดกรองภาวะพร่องฮอร์โมน
ได้รับการช่วยเหลือและแก้ไข แนะนามารดา และครอบครัว รวมทั้งส่งต่อเมื่อมีภาวะแทรกซ้อน
จดบันทึกปัญหาและกิจกรรมทางการพยาบาล
6.3
6.3 การให้ภูมิคุ้มกันวัคซีนสําหรับทารกแรกเกิดและการป้องกันภาวะแทรกซ้อน
คำศัพท์เกี่ยวกับวัคซีน
EPI : Expanded Program on Immunization
BCG: Bacillus Calmette Guerin (วัคซีนป้องกันวัณโรค)
วัคซีนตับอักเสบบี (Hepatitis B Vaccine : HBV)
วัคซีนคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน (Diphtheria-Tetanus-Pertussis Vaccine: DTP)
วัคซีนโปลิโอ (Polio Vaccine)
OPV: Oral Polio Vaccine วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี (Japanese encephalitis vaccine: JE)
วัคซีนหัด หัดเยอรมัน คางทูม(Measles-mumps-rubella vaccine : MMR
การให้วัคซีน หรือการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค(
การฉีดวัคซีน คือ การฉีดเชื้อโรคชนิดนั้นเข้าสู่ร่างกาย แต่เป็นเชื้อโรคที่ถูกฆ่าแล้วหรือเป็นเชื้อโรคที่ถูกทาให้สงบแล้ว ไม่ทาอันตรายต่อร่างกาย ซึ่งเมื่อฉีดเข้าสู่ร่างกาย มันจะไปกระตุ้นให้ร่างกายสร้าง แอนติบอดี (ภูมิคุ้มกัน) ซึ่งเมื่อสร้างได้แล้วภูมิคุ้มกันนี้จะอยู่ในร่างกายเป็นเวลานานทำให้มีภูมิต้านทานโรคนั้นๆ
วัคซีนที่ทารกแรกเกิดทุกคนต้องได้รับ
วัคซีนวัคซีนป้องกันวัณโรค(BCG)
และวัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบบี (HBV)
*
(Exam)
วัคซีนวัคซีนป้องกันวัณโรค(BCG)
BCG: Bacillus Calmette Guerin ผลิตจาก แบคทีเรียมีชีวิต Mycobacterium bovis
วัคซีนป้องกันวัณโรค เป็นชนิดผงแห้ง บรรจุในขวดแก้ว วัคซีนนี้เก็บที่อุณหภูมิ 4 C จะเก็บได้นาน 12 ปี
หากผสมหรือเปิดใช้ต้องให้หมดใน 12 ชม.
วิธีการฉีด
ฉีดเข้าในผิวหนัง (ID: intradermal )
ผิวหนังบริเวณส่วนบนของต้นแขนขวา ขนาด 0.1 มล.
ปฏิกิริยาจากการฉีดวัคซีน
หลังจากฉีดน้ายาจะดันผิวหนังให้
โป่งนูน
ขนาดประมาณเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5 มิลลิเมตร ประมาณ 1 ชั่วโมงจะ ยุบหายไป คงเห็นเป็นสีแดงๆ
ข้อห้ามในการฉีดวัคซีน BCG
มีแผลติดเชื้อ หรือแผลไฟไหม้ในบริเวณที่จะฉีด
มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง (ยกเว้นเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งยังไม่มีอาการสามารถฉีด BCG ได้)
หญิงมีครรภ์
เจ็บป่วยเฉียบพลัน
ภูมิคุ้มกันบกพร่องแต่กาเนิด
ผู้ที่เคยได้ยากดภูมิคุ้มกัน
คาแนะนาหลังฉีด BCG ทารกจะได้รับครั้งเดียว
ห้ามบ่ง แคะ บีบตุ่มหนอง
ห้ามใส่ยารักษาแผลขณะตุ่มหนองแตก
รักษาผิวหนังบริเวณที่เป็นแผลให้สะอาด โดยใช้สาลีชุบน้าสะอาด/น้าต้มสุก ชะล้างแผล
วัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบบี (HBV)
ประกอบด้วยโปรตีนที่ผิวของไวรัส(HBsAg ) เป็นวัคซีนที่เตรียมจากพลาสมาหรือยีสต์
วัคซีนมีลักษณะขุ่นต้องเขย่าหลอดก่อนใช้ มีทั้งชนิดวัคซีนเดี่ยว และวัคซีนรวมที่ผสมกับวัคซีนป้องกันโรคอื่น ๆ
ขนาดและวิธีใช้ ทารกจะได้รับ 3 ครั้ง
แรกเกิด
ฉีดครั้งละ 0.5 มิลลิลิตรเข้ากล้ามเนื้อบริเวณต้นขานอก Vastus lateralis muscle)
การฉีดวัคซีนครั้งที่ 2
เมื่อทารกอายุ 1 หรือ2 เดือน (ให้ห่างจากการฉีดครั้งแรก 1-2 เดือน)
การฉีดวัคซีนครั้งที่ 3
เมื่อทารกอายุ 6เดือน
(ให้ห่างจากการฉีดครั้งแรก 6 เดือน )
ขนาดและวิธีใช้
ในกรณีเด็กที่คลอดจากมารดาที่เป็นพาหะไวรัสตับอักเสบบี (มีผล HbsAg + ve )
ให้ฉีด Hepatitis B Immune Globulin Globulin:
HBIG เพิ่มมาอีก 1 เข็ม
เน้นต้องฉีดภาย
ในแรกเกิด 22 ชั่วโมง
เพื่อให้เกิดการป้องกันการติดเชื้อจากแม่ ที่มีประสิทธิภาพ
ดังนั้นจะฉีด 2 เข็มแรกเกิด HBIG & HBV HBV
และนัดฉีดHBV เข็มต่อไป
ทารกอายุ1 เดือน และ 6 เดือน
ปฏิกิริยาจากการฉีดวัคซีน
อาจมีอาการปวดบวมหรือมีไข้ต่าๆ อาการมักเริ่มราวๆ 3-4 ชั่วโมงหลังฉีด และเป็นอยู่ไม่เกิน 24 ชั่วโมง อาจให้ประคบด้วยความเย็น
ภูมิคุ้มกันโรคจะเกิดขึ้นถึงระดับที่ป้องกันโรคได้หลังการฉีดวัคซีนเข็มที่สอง
การนัดฉีดวัคซีนครั้งต่อไปเมื่ออายุ 2 เดือน
คือวัคซีนป้องกันโปลิโอ(OPV)
HBV [บริเวณ vastus lateralis - 1st dose 12-24 hr, 2 mn (ออกฤทธิ์ ), 6 mn]
เข็มที่ 2 (ถ้าทารกเกิดจากมารดาที่เป็นพาหะไวรัสตับอักเสบบี นัดมาฉีดเข็มที่ 2 เมื่อทารกอายุ 1 เดือน)
DPT (คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก)
ให้วัคซีน ตามอายุ และข้อแนะนำ
แรกเกิด
ข้อแนะนำ
Don't administer BCG to the baby who has HIV (except the mother's baby was undergone the proper HIV treatment and the baby is healthy at birth)
แรกเกิด
ข้อแนะนำ
HB1 ควรให้เร็วที่สุดภายใน 24 hr
HB1
BCG
2 months
DTP-HB1, OPV1
DTP-HB2, OPV2
DTP-HB3, OPV3
9 months
ข้อแนะนำ
หากฉีดไม่ทันเมื่ออายุ 9 เดือน ให้รีบติดตามฉีดโดยเร็วที่สุด
M or MMR1
1 year + 6 months
JE1, JE2
ข้อแนะนำ
ควรให้ 2 ครั้ง ห่างกัน 4 weeks
DTP4, OPV4
2 yr + 6 months
JE3
4 yr
ข้อแนะนำ
DTP5, OPV5
7 yr (ป. 1)
BCG*
ไม่มีมีหลักฐานว่า เคยได้รับ เมื่อแรกเกิด และไม่มีแผลเป็น
ไม่ให้ในเด็ก HIV ที่มีอาการโรคเอดส์
MMR2
dT, OPV
ให้ในกรณีที่ได้รับ DTP, OPV ไม่ครบ 5 ครั้
12 yr (ป.6)
dT
6.4 การประเมินและการดูแลทารกแรกเกิดที่มีความผิดปกติเล็กน้อย
Lactose intolerance
ภาวะแพ้น้าตาล Lactose
ร่างกาย
ไม่สามารถย่อย
น้าตาลแลคโตส**
ในนม
ได้จากลาไส้ขาด
เอนไซม์หรือน้าย่อยที่มีชื่อ
ว่า "แล็กเทส
(lactase)**
cause
ขาดเอนไซม์(lactase)
Prevalence
พบได้บ่อยในคนทุกวัย มักเริ่มพบตั้งแต่ในช่วง
วัยรุ่นและวัยหนุ่มสาว
พบได้น้อยในทารกเนื่องจาก น้าย่อยนี้มีมากในทารก และ
ค่อยๆ ลดลงไปเมื่อโตเป็นผู้ใหญ่
Result
ทำให้เกิด
อาการ
ท้องอืดและท้องเดินหลังได้รับนมมารดา
อาการ การวินิจฉัยและการดูแล
อาการ:
ทารกแรกเกิด จะเกิดอาการท้องอืดและท้องเดินทุก
ครั้งหลังได้รับนมมารดา
อาการ:
การวินิจฉัย จาก :
อาการแสดงเป็นหลัก และอาจทดลอง
ให้งดด่มื นมและงดกินผลิตภัณฑ์จากนมเป็นเวลา ๒ สปั ดาห์
ถ้าหายเป็นปกติ ก็มักจะเป็นภาวะนี้จริง
การดูแลในทารกแรกเกิด:
ควรงดนมมารดาและนมวัว ควรให้ดื่ม
นมถั่วเหลืองแทนนมมารดา
Meconium impact
ภาวะขี้เทาอุดตันลาไส้
ทารกแรกเกิด อาจเกิดภาวะลาไส้ตีบตันหรือลาไส้อุดตันจากขี้
เทา
(Meconium ileus) หากไม่มีการขับถ่ายภายใน24
ชั่วโมง
ปล่อยให้อุจจาระแห้งอัดแน่นมากขึ้น อาจเป็น
สาเหตุให้เกิดลาไส้อุดตัน (intestinal obstruction)
อาการ
- ท้องอืด โป่ง
- ไม่ดูดนม
- อาเจียน
การรักษาเบื้องต้น
การสวนระบายอุจจาระ (rectal
irrigation)
ทารกแรกเกิดให้ค่อยๆ ริน normal
saline ทีละ 15 – 20 มล. เข้า
Rectum ผ่าน rectal catheter
ขนาด 16 Fr
น้าเกลือที่ใช้ควรเป็นน้าเกลืออุ่น โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งในเด็กทารกที่สูญเสียความร้อนง่าย
ในระยะแรกการสวนล้างมักจะต้องทาหลาย
ครั้งในแต่ละวันจนกว่าจะลดการคั่งค้างได้
complication
ภาวะแทรกซ้อนที่สาคัญของการสวนระบายอุจจาระคือการแตกทะลุ
Tongue-tie
ลิ้นติด Tongue-tie / ankyloglossia
เนื้อเยื่อที่ยึดเกาะใต้ลิ้นกับพื้นล่างของช่องปาก(lingual
frenulum) สั้นและหนาตัว
อาการแสดง
-แลบลิ้นได้ไม่พ้นริมฝีปากหรือเหงือกบน
-ไม่สามารถกระดกปลายลิ้นขึ้นไปสัมผัส
เพดานปากได้
-ไม่สามารถเคลื่อนไหวลิ้นไปด้านข้างได้
-เมื่อแลบลิ้น ปลายลิ้นจะแบนไม่มนหรือ
เป็ นเหลี่ยม ไม่แหลมมนอย่างทั่ว ๆ ไป
ปลายลิ้นอาจเป็นร่องหยักเข้ามา หรือ
เป็นรูปหัวใจ
การให้คะแนนความรุนแรงของภาวะลิ้นติด
จาก SIRIRAJ TONGUE- TIE SCORE: STT Score
1.Tongue ดูตาแหน่งสั้นสุดของพังผืดมาเกาะด้านใต้ลิ้น
Scoring
severe ให้ 1 คะแนน ปลายพังผืดเกาะตั้งแต่ fimbriated fold
ขึ้นมาทางปลายลิ้น
moderate ให้ 2 คะแนน
แบ่งพื้นที่ใต้ลิ้นต่า กว่า fimbriated fold เป็ น 2 ส่วน
ถ้าปลายพังผืดเกาะที่ครึ่งบนค่อนไปทางปลายลิ้นแต่ไม่ถึง
3.mild ให้ 3 คะแนน
ถ้าปลายพังผืดเกาะที่ครึ่งล่างค่อนมาทางโคนลิ้น
Nipple character (after stimulation)
ประเมินหลังจากให้ทารกดูดนมไปแล้วสักครู่ คะแนนตามแบบ
ประเมิน
Nipple sensation
ขณะที่ลูกดูดนมรู้สึกว่าลิ้นอยู่ที่...
หัวนม ได้ 2 คะแนน
ที่ลานหัวนมได้ 4 คะแนน
ไม่มีลิ้นมาโดนเลยเป็นเหงือกแข็งทุกครั้งได้ 0 คะแนน
ใช้ทานายว่าทารกรายใดจะมีปัญหาในการดูดนมมารดา
ทารกที่มี STT score ต่า กว่า 8 คะแนน
ร่วมกับมีภาวะลิ้นติด ควรได้รับการผ่าตัดพังผืดใต้ลิ้น
ผลของลิ้นติดต่อทารก
ดูดนมได้ไม่ดี อมหัวนมแล้วมักหลุด
น้าหนักตัวไม่ค่อยขึ้นจากการได้น้านมไม่พอ
แม่เจ็บหัวนมหรือหัวนมเป็นแผล แม่สร้างน้านมน้อยลง ๆ
รักษา
Club foot
ภาวะเท้าปุก (club foot)
ความผิดปกติของรูปเท้า
ที่เป็นตั้งแต่กาเนิด
ข้อเท้าจิก
ลงล่าง
บิดเข้าใน และฝ่าเท้า
หงายขึ้น
ส้นเท้าไม่ถึงพื้น
มีรูปร่างเหมือนไม้กอล์ฟ
อาจเป็นข้างเดียวหรือสอง
ข้างก็ได้
Memory tip
Golf club
Type
เท้าปุกแท้
(Congenital Clubfoot)
ไม่สามารถดัดให้กลับมาอยู่ใน
รูปร่างปกติได้
2. เท้าปุกเทียม (Postural
Clubfoot)
ไม่มีความผิดปกติ
ของโครงสร้างเท้า เกิดจากการขด
ตัวอยู่ในครรภ์มารดา โดยเท้าบิด
เข้าด้านในเป็นเวลานาน พบได้บ่อย
เรียกว่า
Positional
clubfoot
โดยที่เท้าบิดเข้าใน
หลังจากคลอดแล้วรูปเท้าปุกจะหาย
ได้เอง ภายใน 2 ถึง 3 เดือนหลัง
คลอด
Cause
unknown
เป็นแต่กา เนิดโดยไม่ทราบสาเหตุ
(Congenital Idiopathic Clubfoot)
การรักษา
Massage
การนวดเท้าจะกระตุ้นกล้ามเนื้อเท้าและข้อเท้าให้มี
ความยืดหยุ่นมากขึ้น
Rub
การกระตุ้นเท้าเป็นการถูเบาๆ ที่ฝ่าเท้า
Ponseti method
การดัดนวดเท้าและใส่เฝือกขายาว ควรเปลี่ยนเฝือกทุก
1-2 สัปดาห์
stretching your baby's foot into a better position. It's then put into a cast
Down syndrome
กลุ่มอาการดาวน์ หรือ Down Syndrome
What is it?
พบบ่อยในเด็กปัญญาอ่อน
มีรูปร่างหน้าตาคล้ายชน
ชาติมองโกล
บางคนเรียกความผิดปกตินี้ว่า Mongolism
Prevalence 1:1000 สัมพันธ์กับอายุของมารดา
Cause
translocationพบได้ร้อยละ4
แท่งโครโมโซมย้ายที่ เช่น โครโมโซมคู่ที่ 14 มายึดติดกับ คู่ที่ 21
trisomy
21พบได้ร้อยละ 95
โครโมโซมเกินไป 1 แท่ง คือ
โครโมโซมคู่ที่ 21 มี 3 แท่ง
mosaic Down Syndrome
Syndromeพบได้น้อยที่สุดคือ พบได้เพียงร้อยละ 1 เท่านั้น
มีโครโมโซมทั้ง 46 และ 47 แท่งใน คนๆ
อาการและอาการแสดง
มีลักษณะ เฉพาะ
ศีรษะค่อนข้างเล็กแบนและตาเฉียงขึ้น
ดั้งจมูกแบน ปากเล็ก ลิ้นมัก
ยื่นออกมาเนื่องจากกล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก
ตัวค่อนข้างเตี้ย มือสั้น
ร่างกายทารกแรกเกิด พบว่ามีความยาวน้อยกว่าปกติ
ท้ายทอยแบนราบ ตายาวรีและเฉียงออกไปด้านนอก
ใบหูเล็กอยู่ต่า กว่าปกติ
the most important problem
พัฒนาการช้า ภาวะปัญญาอ่อน
มักมีโรคหัวใจพิการแต่กาเนิดพบได้ร้อยละ 30-40
มีภาวะต่อมไทรอยด์
บกพร่อง ร้อยละ 30
สาไส้อุดตันตั้งแต่แรกเกิด
การวินิจฉัยและ การรักษา การป้องกัน
การตรวจวินิจฉัย
ตรวจวิเคราะห์โครโมโซม
การรักษา
ไม่มีการรักษาให้หายเป็น
ปกติได้
รักษาแบบ
ประคับประคองตาม
ภาวะแทรกซ้อน
การป้องกัน
การวินิจฉัยก่อน
คลอด ปัจจุบันใน
หญิง
ตั้งครรภ์
ที่อัตรา
เสี่ยงสูง เช่น
อายุมากกว่า 35 ปีขึ้นไป
สามารถ
เจาะน้า คร่า มาตรวจดู
โครโมโซมของเด็ก
ในครรภ์ว่า
ผิดปกติหรือไม่
หากพบความ
ผิดปกติคู่สามีภรรยาอาจ
เลือกยุติการตั้งครรภ์ได้
การพยาบาล
ยอมรับความจริงของ
ครอบครัวต่อสภาพของเด็ก
เผชิญกับการไม่ยอมรับของ
สังคมโดยเริ่มจากการยอมรับ
ของครอบครัวอย่างเหนียว
แน่น
ไม่แสดงปมด้อย ไม่
โกรธแค้น
Educate the family เด็กมีลักษณะ
ขี้เล่น ร่าเริง ชอบสนุก
ชอบยอ ชอบดนตรี
ขี้ลืม มีความสนใจน้อย
ต้องอาศัยการสอนซ้าๆ
ชอบเอาอย่าง จึงถูกชักจูง
ง่าย ครอบครัวต้อง
ช่วยเหลือหาแบบอย่างที่ดี
ต้องการความรัก
ความอบอุ่นอย่างมาก
การอบรมเด็กปัญญาอ่อน
ขั้น 1
ขั้นหนึ่งให้รู้จักการปฏิบัติตน
ภายในครอบครัว
ขั้น 2
ขั้นสองให้รู้จักการปฏิบัติตน
ในสังคม
ขั้น 3
ขั้นสาม การอบรมด้าน
วิชาชีพ
การฟื้นฟูสมรรถภาพ
ควร
ได้รับการฟื้นฟูให้เร็วที่สุดโดย
การกระตุ้นพัฒนาการทุกด้าน
คุมกาเนิดแบบถาวร
แนะนาแหล่งขอความ
ช่วยเหลือ
ป้องกันการเกิดซ้าใน
ครอบครัวโดยการให้
คาปรึกษาทางพันธุศาสตร์
6 Neonatal teeth
Characteristics
Neonatal teeth teethหรือPre Deciduous Teeth
ฟันที่ขึ้นเร็วมีสีขาวประกอบด้วยเคราติน(keratin) เป็นส่วนใหญ่
สามารถจับโยกออกได้ง่าย
ทารกบางคนเกิดมาพร้อมกับมีฟันซี่เล็ก ๆ 1 หรือ 2 ซี่
ฟันที่ขึ้นในช่วงแรกเกิดนี้ จะแตกต่างจากฟันน้านมปกติ คือมีแต่ตัวฟัน ไม่มีรากฟัน
ฟันที่ขึ้นมาเร็ว
ควรจะเก็บไว้จนกว่าจะหลุดไปเอง แต่
บางครั้ง จะก่อปัญหาในการให้ลูกดูดนม
มารดา
การดูแล
Educate the family
อธิบายให้มารดาและ
ครอบครัวทราบและสังเกตการหลุดของฟัน
ขณะให้นมลูกถ้าพบปัญหาการดูดนม
มารดาฟันที่ขึ้นมา จะขบกัดหัวนม ขณะให้
นม อาจทาได้โดยใช้ผ้ากอซหุ้มรอบๆ
หัวนม
การถอนฟันที่ขึ้นเร็วในทารกแรกเกิด
ตามปกติจะทาเมื่อทารกอายุ1 วัน
Neonatal Jaundice
ภาวะตัวเหลือง หรือ ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด (Neonatal Hyperbilirubinemia
ภาวะตัวเหลือง
Description
ภาวะที่มีระดับบิลิรูบิน
(Serum
Bilirubin ) มากกว่า 5 mg/dl
resulting from เป็นผลจากการที่ unconjugated
bilirubin ไปสะสมที่ผิวหนังและ mucous membranes
ทาให้มีอาการตัวเหลือง
Prevalence
พบได้ในทารกแรกเกิดถึงร้อยละ 25 50
Cause
1
ภาวะเม็ดเลือดแดงแตกปกติในทารกแรกเกิด
short life of RBC in baby
เด็กมีเม็ดเลือดแดงมากกว่าผู้ใหญ่ เด็กมีความเข้มข้นของเลือด เมื่อเม็ดเลือดครบอายุก็จะแตกและเม็ดเลือดแดงในเด็กมีอายุ 90
วัน (120 days in adults) งอายุสั้นกว่า การแตกจึงมากกว่าจึงเป็นสาเหตุของตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
2
มีการทาลายเม็ดเลือดแดงมากกว่าปกติ
3
การทางานของตับยังไม่สมบูรณ์
4
ความผิดปกติที่ลาไส้เช่นภาวะ
ลาไส้อุดตัน
-> ทาให้
มีการดูดซึม บิลิรูบินกลับ
เข้ากระแสเลือดแทนที่จะขับถ่ายออกไป
-> เด็กจึงตัวเหลือง
Heme -> bilirubin
Bilirubin เกิดจากการสลายตัวของฮีม
ประมาณร้อยละ 75 ได้จากเม็ดเลือดแดงที่ถูกทาลายเมื่อแก่ตัว
2 ประเภท
1
ภาวะตัวเหลืองทางสรีรภาพ
(Physiological Jaundice )
ไม่มีอาการของโรคหรืออาการผิดปกติอื่นๆ
ทารก -
มักจะตัวเหลืองภายหลังจาก
24ชั่วโมงหลังคลอดไปแล้ว หรือวันที่ 2-3 หลังคลอด
เด็กคลอดครบกาหนดจะมีค่า bilirubin สูงสุดไม่เกิน 12 mg/dl
ทารกคลอดก่อนกาหนดมีค่า bilirubinไม่เกิน 15 mg/dl
การดูแล
กระตุ้นให้ทารกแรกเกิดดูดนมแม่เร็วที่สุดภายในชั่วโมงแรกหลังคลอด และดูดบ่อยๆทุก2 33ชั่วโมง
การดูดเร็วช่วยกระตุ้นให้ลาไส้มีการเคลื่อนไหว มารผลิตและการขับถ่าย meconium เร็ว ทาให้ลดการดูดซึมกลับของ Unconjugated bilirubin
2
ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิสภาพ
(Pathological JuandiceJuandice)
เป็นภาวะตัวเหลืองที่พบได้เร็วภายใน 24 ชั่วโมงหลังคลอด
ค่า bilirubin อาจสูงถึง 20 mg/dl
Cause
Hemolytic disease of the newborn
เช่น Rh , ABO ABO
ภาวะเลือดข้น polycythemia
เอ็นไซม์ในเม็ดเลือดแดงพร่องเช่นพร่องG 6 PD
มีเลือดคั่ง เช่นcephalhematoma
ผลจากการใช้ oxytocin ช่วยเร่งการคลอดในมารดาทาให้เม็ดเลือดแดงของเด็กแตกง่ายขึ้น
อาการและอาการแสดง
มักเห็นที่บริเวณใบหน้า ถ้ากดลูบบริเวณดั้งจมูกจะเห็นได้ชัดยิ่งขึ้น
2
อาการซีดหรือบวม พบในรายที่มีการทาลายของเม็ดเลือดแดงอย่างมาก
3
ตับหรือม้ามโต
4
ซึม ถ้าระดับ bilirubin สูงมาก ๆ
5
จ้าเลือดตามตัว อาจพบ patechiae (จุดเลือดออกขนาดเล็กขนาด 1-2 mm) หรือ purpura spots ตามผิวหนังในเด็กที่ตัวเหลืองจากโรคติดเชื้อในครรภ์
หลักเกณฑ์ที่ใช้แยก
pathological jaundice
จาก
physiologic jaundice
เด็กที่เหลืองจากพยาธิสภาพ (Pathology ) จะ
มีลักษณะสำคัญ
-สังเกตเห็นเหลืองภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
-Bilirubin ในเลือดสูงขึ้นเกิน 5 มก./ดล./24 ชั่วโมง
-ค่า indirect bilirubin เกิน 15 มก./มล.ในเด็กเกิดก่อน
กา หนดหรือเกิน 12 มก./ดล.ในเด็กเกิดครบกา หนด
-ตัวเหลืองนานเกิน 1 สัปดาห์ในเด็กเกิดครบกา หนด หรือเกิน 2
สัปดาห์ในเด็กเกิดก่อนกา หนด
มีความผิดปกติอย่างอ่นื ร่วมด้วย
เช่น ดูดนมไม่ดี ตับและม้ามโต กระวนกระวาย
acidosis
Kernicterus
ภาวะKernicterus หรือ bilirubin
encephalopathy
2 more items...
ภาวะตัวเหลืองที่สัมพันธ์กับนมแม่
-Breast milk jaundice
jaundiceพบในทารกที่ได้รับนมแม่อย่างเดียวสาเหตุเกิดจากในน้านมแม่มีสารบางอย่างไปยับยั้งการ conjugate ของ bilirubin
อาจเหลืองอยู่ได้นาน 2-3เดือน ถ้า
หยุดให้นมแม่ชั่วคราวประมาณ 24 48 ชั่วโมง
ระดับ bilirubin จะลดต่าลง
-Breast feeding jaundice
เกิดใน 2-3วันแรกหลังคลอด เนื่องจาก
น้านมแม่ยังมีน้อย
ควรให้
ดูดนมแม่บ่อยๆเพื่อให้มีน้านมเพียงพอ
แล้วอาการตัวเหลืองจะหายไปเอง
การประเมินภาวะตัวเหลืองในทารก
1
ประวัติ
ระยะเวลาที่มีอาการตัวเหลือง
ถ้าตัวเหลืองเร็วภายใน 24
ชม.ถือว่าผิดปกติ ต้องประเมินต่อเนื่อง
บุตรคนก่อนๆที่มีอาการตัวเหลือง อาจเกิดจากขาดเอ็นไซม์ G6PD
การตรวจร่างกาย
การตรวจต้องไม่สวมเสื้อผ้า บริเวณผิวหนัง ตรวจผิวหนัง รวมถึงตรวจอาการซีด
ตรวจตาขาว
การรีดผิวหนัง
Bilirubinometer
3 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับ bilirubin ในเลือด
ตรวจนับเม็ดเลือด reticulocytes count)
ดูรูปร่างเม็ดเลือดแดงอาจพบ microspherocyteในABO incompatibility
ตรวจหมู่เลือดABO( แม่ O ลูก A หรือ B)
และ ตรวจหมู่เลือด Rh
Direct
Coomb s test
(ABO=trace,+
1 ถ้า Rh 3 หรือ 4
G6PD screening test
การรักษาภาวะตัวเหลือง
มี 3 วิธี
1
ใช้แสงบาบัด หรือการรักษาโดยการส่องไฟ (Phototherapy)
โดยทั่วไป จะรักษาโดยการส่องไฟเมื่อ
มีระดับบิลิรูบินในเลือด > 10 mg/dl ในทารกอายุน้อยกว่า 48 ชม.
หรือ > 15 mg/dl ในทารกอายุมากกว่า 48 ชม.
complication of Phototherapy
7 more items...
การดูแลทารกที่ได้รับการส่องไฟ
7 more items...
ข้อบ่งชี้ในการหยุดส่องไฟ
2 more items...
2
ถ่ายเปลี่ยนเลือด
(Blood exchange / transfusion)
3
ใช้ยา PhenobabitalPhenobabitalเพื่อเข้าไปเร่งให้ตับสร้างเอนไซม์ Glucoronyl transferase และสร้าง Y protein มากขึ้น
7 Sub temperature
ภาวะอุณหภูมิกายต่า ในทารกแรกเกิด
ที่วัดทางทวาร
หนักหรือรักแร้ < 36.5 C
วัด
จากผิวหนังของลา ตัวต่า กว่า 36องศาเซลเซียส
ระบบการปรับอุณหภูมิของร่างกายทารก
ถูกควบคุม
โดยสมองส่วน hypothalamus โดยการสร้าง
สมดุลระหว่างการเพิ่มและการสูญเสียความร้อน
(heat gain and heat loss)
Body + Coldness -> Body produces heat + then release the heat out of the body
ร่างกายได้รับความเย็น
หรือร้อน ร่างกายจะมีการ
ปรับตัวโดยการสร้างความ
ร้อน
(heat production)
และการถ่ายเทความร้อน
(heat loss)
Heat loss
การถ่ายเทความร้อน(heat loss)
Body + heat production -> sweat
สร้างความร้อนและเพิ่มการระบายความร้อนโดยการกระตุ้นให้มีการขับเหงื่อออกมาสู่บริเวณผิวหนังเพื่อระเหยออกสู่สภาพแวดล้อม
ทารกจะมีการสูญเสียความร้อนมากกว่าผู้ใหญ่ คือประมาณ 4 เท่าของน้าหนักตัว
Cause/ Why?
1 more item...
ทารกเกิดก่อนกาหนดจะมีอัตราสูญเสียความร้อน 5 เท่าของน้าหนักตัว
กลไกการสูญเสียความร้อน from the baby body
มี 4 ทาง
1 การนา ความร้อน (conduction)
ส่ง
ความร้อนจากวัตถุหนึ่งไปยังวัตถุหนึ่ง เกิดขึ้นเมื่อผิวกาย
ทารก
สัมผัสโดยตรงกับวัตถุท่มี ีอุณหภูมิต่า กว่า
2
การพาความร้อน (convection)
heat loss through the wind (the wind = heat carrier)
2 more items...
3
การระเหยของน้า
สูญเสียความร้อนจากน้าที่ระเหยทางผิวหนัง
ทารกจะสูญเสียความร้อนด้วยวิธีนี้เมื่อ เมื่อตัวเปียก แฉะหรือมีความชื้นสูง
Prevention
1 more item...
4
การแผ่รังสี (radiation)
สูญเสียความร้อนโดยการแผ่กระจายความร้อนจากทารกไปสู่วัตถุรอบๆด้านที่เย็นกว่า
วัตถุนั้นไม่ได้สัมผัสผิวกายทารก เช่น การวางทารกไว้ใกล้กับวัตถุที่เย็นหรืออยู่ในอุณหภูมิห้องที่เย็น
Prevention
1 more item...
อาการและอาการแสดง
อาการทารกแรกเกิดที่มีอุณหภูมิกายต่า
ผิวหนังเย็นกว่าปกตหิ รือมีอาการเขียวคล้า (cyanosis)
หายใจเร็วหรือหายใจลา บาก อาจตรวจพบว่ามี
เสียงกลั้นหายใจ
(Grunting)
ถ้ามีอาการรุนแรงอาจมีภาวะเลือดออกในปอด (Pulmonary
hemorrhage)
ตัวเหลือง เกล็ดเลือดต่า มีปัสสาวะน้อย
(Oligouria)
มีภาวะไตล้มเหลว(Acute renal
failure)
มีภาวะน้า ตาลในเลือดต่า หรือเกิดความเป็นกรด
(Acidosis) เพิ่มขึ้นได้ ซึม ดูดนมช้า ถ้ารุนแรงมากอาจ มีอาการ
ชักหรือมีเลือดออกในสมองได้
การรักษาภาวะอุณหภูมิกายต่า มี 2 วิธี
การเพิ่มอุณหภูมิกายอย่างช้า (slow re warming)
ลดการสูญเสียความร้อนโดยการแผ่
รังสี
ปรับอุณหภูมิของตู้อบให้อยู่ที่ 36องศาเซลเซียสใช้ plastic
shield วางครอบทารก เพื่อลดการสูญเสียความร้อนโดยการแผ่
รังสี
ถ้าอุณหภูมิกายยังลดลงอีก ให้เพิ่มอุณหภูมิตู้เป็น
37 องศาเซลเซียส
พยายามหาดูว่าทารกมีการสูญเสียความร้อน
ทางใด และให้การแก้ไข ภายหลัง 15 นาที
2.การเพิ่มอุณหภูมิกายอย่างเร็ว (rapid rewarming)
วางทารกไว้ใต้เครื่องให้ความอบอุ่นโดยการแผรั่งสี ชนิดที่มี servo
control ติด
skin probe ไว้ที่ผนังหน้าท้อง
ตั้งปุ่มปรับอุณหภูมิผิวหนังไว้ที่
36.5องศาเซลเซียส
วัด
อุณหภูมิทวารหนักทุก 15 ถึง 30 นาที
นวัตกรรมการดูแล
ถุงถั่วเขียว+heated in microwave
ใส่ถุงถั่วเขียวดิบ 1กิโลกรัม + ในถุงผ้ายีนส์ขนาดของถุงผ้าเท่ากับกระดาษ A 4 แล้ว+ เย็บปิดให้มิดชิด
อุ่นถุงถั่วในด้วยไมโครเวฟ ขนาดไฟ 800วัตต์ นาน 1นาที
ใส่ถุงถั่วเขียวในซองเอกสารสีน้าตาลขนาด A 4
ปูผ้าขนหนูบนซองเอกสารที่ใส่ถุงถั่วเขียวที่อุ่นแล้ว 1ผืน
ใช้ผ้าขนหนูห่อตัวทารกแล้ววางลงบนผ้าขนหนูที่ปูอยู่บนซองเอกสารที่ใส่ถุงถั่วเขียวที่อุ่นแล้ว
10 น้าตาไหล Dacryocystitis
ภาวะน้ําตาไหล in newborn
Cause
บริเวณรูท่อน้า (อยู่บริเวณหัวตา) ตานี้เองท่เี กิดการอุดตัน
ทา ให้น้า ตาที่
ผลิตออกมาไมส่ ามารถไหลลงรูท่อน้า ตาได้จึงทา ให้ทารกมี
น้า ตาไหลอยู่ตลอดเวลา
น้าตาไหลในทารกตั้งแต่แรกเกิด เกิดจาก
การอุดตันของท่อน้าตา
และ
มีขี้ตาแฉะ
ร่วมด้วย ส่วนใหญ่หายได้เองภายใน 1-2 เดือน
Effect
ถ้ามีการสะสมของขี้ตามาก มีโอกาสที่เชื้อโรคจะเข้าสู่ท่อน้าตาทาให้เกิดอาการอักเสบ
วิธีแก้ไข
ใช้นิ้วก้อยนวดหัวตาด้านจมูกโดยกดเบาๆจากหัวตาลงสู่จมูก20-30/ครั้ง วันละ 2-3 รอบ
นิ้วก้อยนวดหัวตา -> ใช้เวลา2-3เดือนท่อน้าตาจะเปิดเอง
ถ้าอายุ10เดือนท่อน้าตายังไม่เปิดจาเป็นต้องพบหมอตาเพื่อพิจารณาแยงท่อน้าตาให้เปิด
infection of the lacrimal sac
Etymology The term derives from the Greek
dákryon (tear)
cysta (sac)
-itis (inflammation)
8 sucking defect
ปัญหาการดูดกลืนผิดปกติ
พยาธิสรีรวิทยาการดูดในเด็กปกติ
ทารกจะมีการดูดเป็นเมื่ออายุครรภ์ได้28 สัปดาห์
ในกรณีที่มี
โรคของสมอง การดูดกลืนนี้จะเสียไป
Age difference -> amount of fluid sucked
ในทารกคลอดก่อนกา หนดจะดูดได้ 0.5 มล.ต่อครั้ง
เด็กโตจะกลืนได้ 0.33 มล./กก./ครั้ง
เด็กอายุ 1-3 ปี จะกลืนได้ 4.6 มล.ต่อครั้ง
เมื่อกลืนผ่านไปในหลอดอาหาร (esophagus) จะใช้เวลาเพียง 15
วินาที
สารเหลวก็ไหลลงไปในกระเพาะได้
แต่ถ้าเป็นอาหารข้น
จะต้องอาศัยการบีบตัวของหลอดอาหารด้วย (peristalsis)
Factors affecting "sucking defect"
1
ปัจจัยภายใน
related to defects of "mouth, tonge, swallowing, esophagus, digestion, etc. " e.g. tongue defect (ลิ้นติด Tongue-tie / ankyloglossia)
1.1ปัญหาอวัยวะเกี่ยวข้องกับการดูดกลืนผิดปกติ
ลิ้นติด
ปากแหว่งเพดานโหว่ ช่องต่อระหว่างทางเดินอาหารกับระบบทางเดินหายใจมีปัญหาห
1.2เด็กแรกเกิดที่มีปัญหาเรื่องโรคหัวใจหรือปอด ทาให้ต้องหายใจเร็วขึ้น จึงมีโอกาสในการสาลัก
1.3 พัฒนาการที่ผิดปกติของกล้ามเนื้อใบหน้า ช่องปาก
1.4 ทารกคลอดก่อนกา หนด ความสมบูรณ์ของระบบทางเดินอาหาร
มีน้อย
1) รีเฟล็กซ์ของการดูดและกลืนมีน้อยหรือไม่มี
2) Cardiac sphincter ไม่ดี ปิดไม่สนิท ทารกเกิดการ
สารอก อาเจียนได้ง่าย
3) น้าย่อยในกระเพาะอาหารมีน้อย ตับสร้างน้าดีได้น้อย การ
ย่อยอาหารโดยเฉพาะพวก ไขมันทาได้ไม่ดีจึงท้องอืดได้ง่าย
ปัจจัยภายนอก
1
วิธีการให้นม การให้นมไม่ถูกวิธี
2
การให้ทารกดูดหัวนมยาง ทาให้สับสนหัวนม(nipple
3
. ปริมาณนมที่ให้มากเกินไป จึงเกิดการสาลักนมออกมา
Assessment
การประเมิน sucking reflex
ถ้าผิดปกติทารกจะไม่มีแรงดูดหรือไม่ดูด
การดูแล
ดูแลให้ได้รับนมเพียงพอตามปัญหาที่พบ เช่นส่งต่อผู้เชี่ยวชาญในการ
ฝึกการดูดกลืนในทารกที่มีปากแหว่ง
ถ้ามีอาการสา ลักนม จับเด็กนอนตะแดง ให้ศีรษะเด็กต่า
ลง เพ่อื
ป้องกันไม่ให้นมหรืออาหารที่อาจมีอยู่ในปากไหลย้อนกลับไปที่ปอด
ที่สา คัญ ไม่ควรจับเด็กอุ้มขึ้นทันทีเมื่อเกิดอาการสา ลัก
จับลูกเรอทุกครั้งหลังที่กินนมเสร็จ
ทารากแรกเกิด ที่คอยังไม่แข็ง ควรใช้วิธีอุ้มลูกนั่งตัก ใช้มือ
ประคองช่วงขากรรไกรเพ่อื ประคองศีรษะ แล้วใช้มืออีกข้างลูบหลัง
ขึ้นเบาๆ
9 undescended testis testis ลูกอัณฑะไม่ลงถุงอัณฑะ
ลูกอัณฑะไม่ลงถุงอัณฑะ
Description
คือการไม่มีลูกอัณฑะในถุงอัณฑะ
Prevalence
ทารกคลอดครบกาหนดมีร้อยละ 3 อุบัติการณ์จะสูงขึ้นมากในรายที่คลอดก่อนกาหนด
Cause
1
ความผิดปกติทางกายวิภาคของผนังหน้าท้องส่วนล่าง
2 primary endocrine disorder
disorder เช่น pituitary deficiency หรือ primary testicular
defects
3 idiopathic ไม่สามารถหาสาเหตุได้)
ประเภทของการไม่พบอัณฑะในถุง
1
retractile testes
testes shrink / go upward
อัณฑะซึ่งเดิมอยู่ในตาแหน่งปกติในถุงอัณฑะ แล้วมี
การหดขึ้นไปข้างบน
พบในเด็กอายุ 6 เดือนขึ้นไป
2
ectopic testes
go downward and go to wrong direction (it's supposed to go to scrotum (อัณฑะ (testis) เป็นอวัยวะเพศของผู้ชาย อยู่ในถุงอัณฑะ (scrotum) )
อัณฑะที่เคลื่อนลงมาจาก
retroperitoneum
ผ่าน external ring
ไป
ยังที่อื่นซึ่งไม่ใช่แนวที่ไปยังถุงอัณฑะ
3
monorchia หรือ anorchia
การไม่มีอัณฑะเลย(absence of testes)
4
true undescended testes
การที่อัณฑะหลุดการเคลื่อนลงมาในถุงอัณฑะตาม normal descended
pathway
ซึ่งอัณฑะนั้นอาจจะอยู่ใน retroperitoneu m ,
บริเวณ internal ring, ใน inguinal canal หรือ
high
scrotum
การวินิจฉัย undescended testis
ประเมินจากการดูอาจ
เห็นก้อนนูนในบริเวณขาหนีบได้ และคลา
ในทารกแรกเกิด
ultrasound, CT scan หรือ MRI ในปัจจุบัน การทา
laparoscopy ถือว่าเป็น gold
standard method
สาหรับการหาตาแหน่งของ unpalpable intraabdominal testes
วินิจฉัย anorchia
ในเด็กซึ่งคลาไม่พบอัณฑะทั้งสองข้าง
(bilateral
nonpalpable testes)
ต้องพิสูจน์ว่ามี testicular tissue หรือไม่ โดยการ
ให้ human
chorionic gonadotropin (HCG)
หากพบว่าระดับ
plasma ของ testosterone มีค่าเพิ่มขึ้น แสดงว่ามี testes
การดูแลรักษา
depends on 3 ปัจจัยใหญ่
1 ) อายุ
2) คลาอัณฑะข้างที่ไม่ลงถุงได้หรือไม่
3) เป็นข้างเดียวหรือสองข้าง
การรักษา มีจุดประสงค์
เพื่อให้อัณฑะอยู่ในถุงอัณฑะ
Types of Treatment
การรักษาด้วยฮอร์โมน
ให้มี 2 ชนิด คือ hCGhCGและ Gn RH
(LHRH,
lutinizing hormone releasing
hormone)
เนื่องจาก hypothamus pituitary testicular axis
เป็น hormonal factor ที่ทาให้มีการ descent ของอัณฑะ
การรักษาด้วยการผ่าตัด
และผ่าตัด
orchiopexy
เมื่ออายุ 1 2 ปี
Reasons?
3 more items...
ตัวอย่างการบันทึกทางการพยาบาลทารกแรกเกิด
มีโอกาสเกิดภาวะ Hypo hyperthermia เนื่องจากศูนย์ควบคุมอุณหภูมิกายยังทางานได้ไม่สมบูรณ์
มีโอกาสเกิดภาวะติดเชื้อเนื่องจากระบบภูมิคุ้มกันยังทางานได้ไม่สมบูรณ์
มีโอกาสเกิดภาวะตัวเหลืองเนื่องจากตับยังทางานไม่สมบูรณ์
เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากการได้รับการส่องไฟ
เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อน: kernicterus , เลือดออกในสมองเนื่องจาก Micobilirubinในเลือดสูง
ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และเสริมสร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
T, P, R, BP , HR ทารก