Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การพยาบาลแบบองค์รสมในการสร้างเสริม ป้องกัน ดูแล และฟื้นฟูสภาพมารดา…
บทที่ 5 การพยาบาลแบบองค์รสมในการสร้างเสริม ป้องกัน ดูแล และฟื้นฟูสภาพมารดาในระยะหลังคลอดปกติ
5.6 การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีภาะวเบี่ยงเบนทางสุขภาพ
Reactionary fever
สาเหตุ THIRTY & HUNGRY
นอนพักน้ำดื่ม&สารน้ำตามแผนการรกัษาแพทย์หลงัคลอดมารดาจะ รู้สึก กระหายน้ำ มากกว่า หิว หรอื อยากรับประทานอาหาร ดูอาการ ของมารดาแต่ละราย ส่วนใหญ่การคลอดทางช่องคลอด มักไม่มีข้อห้ามของน้ำดื่ม
After pain
เกิดขึ้นในช่วง 2-3 วันหลังคลอด พบบ่อยในรายครรภ์หลังมากกว่าครรภ์แรก จะปวดมากเมื่อลูกดูดนม
ในช่วงหลังคลอด 12 ชั่วโมงแรก มดลูกหดรัดตัว สม่ำเสมอ และแรง
ความแรง ความถี่ และ ความสม่ำเสมอ ของการหดรัดตัวจะลดลงหลังวัดแรก
เจ็บแผลฝีเย็บ
อาการปวดแผลฝีเย็บเกิดขึ้นเนื่องจากการตัดหรือการของการคลอด ดังนั้นในระยะแรกหลังคอดมารดาตรวจสังเกตอาการอาจมีการบวมเลือด (hematoma) ถ้ามีการติดเชื้อจะมีอาการปวด บวม แดง ร้อน มารดาควรกลับไปพบแพทย์และควรรักษาความสะอาดให้ถูกวิธีแช่ก้นในน้ำอุ่นหรือรับประทานยาเพื่อบรรเทาอาการปวด
ริดสีดวงทวารอักเสบ
ริดสีดวงทวาร จากการที่ลำไส้ถูกเบียดและเคลื่อนไหวช้า ขณะตั้งครรภ์และขณะคลอด
ไม่ควรเบ่งแรงเวลาถ่ายการเบ่งจะทำให้เกิดริดสีดวงทวารหนักได้
ถ้ามีอาการริดสีดวงทวารหนักอยู่แล้วให้ประคบด้วยน้ำอุ่นหรือนั่งแช่ในน้ำอุ่นจะช่วยบรรเทาอาการอักเสบของริดสีดวงทวารได้
รับประทานอาหารที่มีกากใยเพิ่มมากขึ้นทั้งผลไม้สดและผักสดรวมถึงธัญพืชต่างๆในปริมาณที่มากพอต่อวันเพื่อกระตุ้นกระบวนการทำงานของระบบขับถ่าย
ออกกำลัออกกำลังกายหลังคอดและการลุกเดินเมรีแอมเบื่เรชั่นหลังคอด
ท้องผูก
สำหรัสำหรับแบบผ่าตัดคอดอาจมีอาการท้องผูกอาจเกิดลำไส้อาจจะคือสภาพทำงานปกติได้ช้าอันเป็นผลเนื่องจากการพักตัวยาบางชนิดที่ใช้ระงับความเจ็บปวดจากการคอดอาจส่งผลให้มีอาการท้องผูกได้
ยาวิตามินที่มีส่วนผสมของธาตุเหล็กก็ทำให้เกิดอาการท้องผูกได้
สภาพจิตใจหลังคอดที่มีความกังวลหลายอย่างหรืออาจจะไม่คุ้นชินกับโรงพยาบาลไม่มีความเป็นส่วนตัว
ปัสสาวะลำบาก
หลังคลอด 8 ชั่วโมงมารดาควรถ่ายปัสสาวะได้เองแต่ในบางรายจะถ่าย ปัสสาวะลำบากใน 1-2 วันแรกหลังคลอดเนื่องจากความตึงตัวของ กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะไม่มีกำลังหรือยืดมากเกินไปทำให้ปัสสาวะคั่งหรือ ถ่ายลำบาก พยาบาลต้องกระตุ้น ให้ปัสสาวะ ถ้า กระตุ้นแล้วยังถ่ายเอง ไม่ได้ให้พิจารณาสวนปัสสาวะให้
5.1 การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของมารดารหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยามารดาในระยะหลังคลอดมี 3 ประการคือ
การสิ้นสุดของการไหลเวียนเลือดระหว่างมดลูกกับรก
การสิ้นสุดของการการผลิตฮอร์โมนจากรก ซึ้งดป็นการหยุดการกระตุ้นให้หลอดเลือดขยาย
มีการเคลื่อนย้ายของน้ำนอกเส้นเลือดที่สะสมระหว่างการตั้งครรภ์กลับเข้าเส้นเลือดทำให้น้ำในเซลล์มีปริมาณมากขึ้น
ระยะหลังคลอดปกติ (Puerperium) มีหลายรายที่มีอาการเหล่านี้ได้
1.สั่นเทาคล้ายเป็นไข้เล็กน้อย (slightly shivering)
กล้ามเนื้อสั่น (muscular tremor)
ฟันกระทบกัน(Chattering of teeth)
มดลูก (Uterus)(belly and fundus)
มดลูกอยู่ระดับระหว่างสะดือกับ Pubic Symphysis ถ้าสูงกว่าระดับสะดือหมายถึง bladder full, blood clot ในโพรงมดลูก
หลังคลอด 2 วัน มดลูกจะลดลง 1/2 - 1 " /day 10 - 12 วัน จะคลำไม่พบ
7 วันหลังคลอดระดับมดลูกอยู่กึ่งกลางระหว่างหัวหน่าวกับสะดือหรือประมาณ 3 นิ้ว ฟุตเหนือหัววหน่าว นำหนักประมาน 500 กรม
2 สัปดาห์หลังคลอดระดับมดลูกจะอยู่ที่ระดับหัวหน่าว (symphysis pubis) คล่ำไม่พบทางหน้าท้อง น้ำหนักประมาณ 300 กรัม
6 สัปดาห์หลังคลอดมดลูกจะมีน้ำหนักเท่ากับระยะก่อนตั้งครรภ์คือประมาณ 50 กรัม ขนาด 3x2x1 cm. ถือว่าสิ้นสุด
การพยาบาล
-วัดความสูงของมดลูกทุกวัน
กล้ามเนื้อหน้าท้องหย่อน
กระเพาะปัสสาวะว่าง
ควรวัดเวลาเดิมทุกวัน
หน่วยวัดเป็น cm./ inch
-สังเกตน้ำคาวปลาทุกวันจากผ้าอนามัย
น้ำคาวปลา (Lochia)(Bleeding) คือ สิ่งที่ถูกขับออกจากโพรงมดลูกมีฤทธิ์เป็นด่าง
1-3 วันหลังคลอดจะเป็นสีแดง ไม่เป็นก้อน ไม่เป็นลิ่มเลือด
4-10 วันหลังคลิด จะเป็นสีน้ำตาลอ่อนหรือสีชมพู มีจำนวนน้อยลง
11-15 วันหลังคลอด มีสีขาว(Cream) หรือ เหลืองจางๆ จำนวนน้อยมาก จนค่อย ๆ หมดไป จะหมดในอีกหนึ่งเดือน
ฝีเย็บ (Labia)
ตัดฝีเย็บ เพื่อให้ช่องทางออกให้กว้างขึ้น เพื่อให้คลอดปลอดภัยกว่า เร็วกว่า
Episiotomy
Right Medio - lateral Episiotomy
Left Medio - lateral Episiotomy
Median Episiotomy
lateral Episiotomy
การเย็บซ่อมได้ง่าย สวย ด้วยไหมละลาย ถ้าดูแลดี จะหายภายใน 5-7 วัน
รอยฉีกขาดของฝีเย็บ แบ่งออกเป็น
First degree การฉีดขาดของผิวหนังบริเวณฝีเย็บและเยื่อบุช่องคลอดแต่ไม่ถึงชั้น fascia และชั้นกล้ามเนื้อ
Second degree มีการฉีกขาดของ fascia และชั้นกล้ามเนื้อแต่ไม่ถึงหูรูดของทาวารหนัก
Third degree คือ Second degree ที่มีการฉีกขาดของรูหูรูดทวารหนักร่วมด้วย
Fourth degree มีการฉีกขาดถึงบริเวณทวารหนัก หรือเยื่อบุลำไส้ใหญ่ส่วนล่าง หรือท่อปัสสาวะร่วมด้วย
ระบบเลือด
ภายใน 1 สัปดาห์หลังคลอด สารประกอบสำคัญในการแข็งตัวของเลือด Clotting factor ยังคงมีค่าสูงอยู่ จะลดลงสู่ระดับปกติใน 2-3 สัปดาห์
ซึ่งจะมีผลเสียถ้าไม่มีการเคลื่อนไหวและร่วมกัยสภาวะการติดเชื้อ หรือได้รับความชอกช้ำจากการคลอด ก้จะกระตุ้นให้เกิดหลอดเลิอดอุดตั้น (Thromboembolism) ได้ง่าย เช่น บริเวณขา ป้องกันโดยการเดิน หรือ การบริหาร
การคลอดทางช่องคลอดส่วนใหญ่จะเสียเลือดประมาณ 300-400 ml และการคลอดโดยการผ่าตัดหน้าท้องจะเสียเลือดประมาณ 500-1000 ml
Hct. เพิ่มขึ้นในวันที่ 3-7 หลังคลอด กลับสู้ปกติ 4-5 สัปดาห์ ในระยะหลังคลอด Hct. ไม่ต่ำกว่า 30% Hb. ไม่ต่ำกว่า 10% หากต่ำต้องประเมินภาวะซีดร่วมด้วย
เม็ดเลือดขาว ระยะ 10-12 วันหลังคลอด จำนวนเม็ดเลือดขาวอยู่ระหว่าง 20,000-25,000 แต่อาจมีค่าสูงถึง 30,000 เซลล์/ลูกบาศก์มิลลิเมตร
หน้าท้อง (Abdominal Wall)
ตอนท้องหน้าท้องยืดมาก การกลับสู่สภาพเดิมใช้เวลานาน การออกกำลังกายช่วยให้เร็วขึ้น
อาจพบรอยแตกของผ้วหนังเป้นทางขวาง จะจางแต่ไม่หายไป
รอยแยกตัวของกล้ามเนื้อ
ระบบผิวหนัง Body condition
ฝ้าบริเวณใบหน้าจะจางหายไป
Areola จะเข้มขึ้น
Linea nigra จะเข้มขึ้น และช่วงหลังคลอดได้
ร่างกายขับน้ำตามผิวหนัง จำนวนมาก จะขับเหงื่อในเวลากลางคืนตื่นมาเหงื่อท่วม
ทางเดินปัสสาวะ Bladder
Bladder บวมแดง อาจมีเลือดออกใน Submucosa
Bladder ความจุเพิ่มขึ้น หลอดไต กรวยไตขขยาย จะกลับสู่ปกจิใน 2-3 สัปดาห์
Bladder โป่ง ถ่ายปัสสาวะ ไม่หมด และพบ Infection ได้บ่อย
อุณหภูมิ (Temperature) & blood pressure
อุณหภูมิ หลังคลอด 24 ชม. จะเพิ่มขึ้นไม่เกิน 38 องศา หรือ 100.4 F โดยจะเรียกวิธีวัดทางปากส่า reactionary fever
ถ้ามีอาการไข้เกินกว่า 24 ชม. มักเกิดจากการติดเชื้อใน 2-10 วันหลังคลอด
ชีพจร มักช้าลงอยู่ระหว่าง 60-70 ครั้ง/นาที หรือ บางครั้งอาจจะช้าถึง
40-50 ครั้ง/นาที ใน 1-2 วันแรกหลังคลอด
ความดันโลหิต ไม่เกิน 130/90 mmHg ถ้าสูงมากกว่า 140/90 mmHg อาจเป็น Pre-eclampsia
อัตราการหายใจ 16-24 ครั้ง/นาที
การเปลี่ยนแปลงของเต้านม
การสร้างน้ำนม เกิดจาก alveolus ถูกกระตุ้นโดย hormone prolactin
น้ำนมในช่วงแรก 1-2 วันหรือ 2-3 วัน จะเรียกว่า Colostrum เป็นน้ำนมที่มี Protein สูง เกลือแร่สูง และ lga ป้องกันโรคหลายอย่าง ช่วยขับขี้เทา 5-7 วัน จะเป็นน้ำนมมาแทน
การสร้างน้ำนมมากหรือน้อย จะขึ้นกับ การดูด การปฏิบัติตัวของมารดา สิ่งแวดล้อม
ประจำเดือน (Menstruation)
Follicle Stimulating Hormone ใน 10-12 วัน จะเพิ่มขึ้นประมาณ สัปดาห์ที่ 3 หลังคลอด
บางราย รังไข่ไม่สนองต่อการกระตุ้น Follicle Stimulating Hormone ให้เกิด Nonlactation จะมีการตกไข่เร็วที่สุด 27 วัน
ระบบทางเดินอาหาร Bowel movement
เนื่องจาก เสียน้ำ ทางเหงื่อขณะคลอด หรือ NPO นอนพักบนเตียงอาจทำให้ท้องผูก บางรายกลัวเจ็บแผลไม่เบ่ง
การเปลี่ยนแปลงระบบต่อมไร้ท่อ
1.ฮอร์โมนจากรก (Placental hormones) ฮอร์โมนปรเจสเตอโรน(Progesterone) ประมาณวันที่ 3 หลังคลอด และ1 สัปดาห์หลัง คลอดจะตรวจไม่พบในซีรั่ม และจะมีการผลิตใหม่ อีกครั้ง เมื่อมีการตกไข่ครั้งแรกหลงัคลอ
ฮอร์โมนจากต่อมใต้มอง (Pituitary hormones)
ตลอดระยะการตั้งครรภ์ระะดับฮอร์โมน prolactin ในเลือดจะ เพิ่มขึ้น ภายหลังคลอดมารดาที่ไม่เลี้ยงบตุรด้วยนมมารดาระดับ prolactin จะลดลงเท่ากับระดับก่อนตั้งครรภ์ภายใน2สัปดาห์หลังคลอดในมารดาที่เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาการดูดนมของทารกวันละ 1-3 ครั้งต่อวัน จะทำให้ระดับ prolactin เพิ่มขึ้น จะคงอยู่ในกระแสเลือดระดับปกติ
3.การเปลี่ยนแปลงของต่อมไร้ท่ออื่นๆ
การลดลงของ insulinase ซึ่งจะเป็นปัจจัยต่อต้านอินสุลิน (Anti insulinfactors) ดังนั้นมมารดาหลังคลอดจึงมีระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ ภายในสัปดาห์แรกหลังคลอดและมารดาหลังคลอดที่เป็นเบาหวานก็ ต้องการ insulin ต่ำลง
ระบบกล้ามเนื้อและโครงกระดูก
กล้ามเนื้อ 1-2 วันแรกหลังคลอดจะมีอาการเมื่อยและปวดกล้ามเนื้อ เนื่องจากออกแรงเบ่งขณะคลอดและฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนลดลงหลังคลอด
โครงกระดูก กลังคลอด 2-3 วัน ระดับฮอร์โมนรีแลคชิน ค่อยๆลดลง แต่ยังคงเจ็บปวดบริเวณตะโพกและข้อต่อ อาการปวดดังกล่าวจะเป็นชั่วคราวเท่านั้น
ระบบประสาท
หญิงคลอดทางช่องคลอดอาจได้รับยาแก้ปวดหรือยาชา และภายใน 24 ชม. หลังคลอด จะกลับสู่สภาพเดิม
ระบบภูมิคุ้มกัน
ภาวะภูมิคุ้มกันต่อปฏิกิริยาการไม่เข้ากันของหมู่เลือด ทารกอาจจะแสดงอาการตัวเหลืองภายใน 24 ชม.หลังคลอด
5.2 การปรับตัวด้านจิตสังคมและบทบาทการเป็นมารดาหลังคลอด
การปรับตัวของมารดา มี 3 ระยะ
ระยะที่มีพฤติกรรมพึ่งพา Taking-in Phase
ใช้เวลา 1-2 วันหลังคลอดจะมุ่งความสนใจไปที่ตนเอง และต้องการพึ่งพาคนอื่นสูง
ระยะพฤติกรรมระหว่างพึ่งพาและไม่พึ่งพา Taking-Hold Phase
ใช้เวลา 3-10 วัน มารดามีประสบการณ์มากขึ้น มีการปรับตัว สนใจตนเองน้อยลงและสนใจบุตรมากขึ้น มารดาจะพึ่งพาตนเองมากขึ้น
ระยะพฤติกรรมไม่พึ่งพา
ภาวะอารมณ์เศร้าหลังคลอด (Postpartum bule)
การพยาบาล ประคับประคองให้เกิดความสุขสบายทางด้านร่างกายและจิตใจ
ให้ความมั่นใจ
ให้ข้อมมูลความรู้เกี่ยวกับการดูแลทารก
สามีและครอบครัวต้องให้กำลังใจ
Postpartum bule ช่วง 2-3 วัน จะวิตกกังวล สับสน เกี่ยวกับตนเอง ลูก การแสดงออก อาจมีอาการ นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร ร้องไห้ง่าย
ตื่นเต้น กลัวการจั้งครรภ์ การคลอด
ร่างกายเปลี่ยนแปลง ที่ก่อมห้เกิดความไม่สุขสบาย
อ่อนเพลียจากการคลอด จากสิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาลที่ทำให้พักผ่อนน้อย
กังวลเกี่ยวกับการเลี้ยงดูลูก
กลัวการรักษา เนื่องจากไม่ทราบขั้นตอนในการปฏิบัติตัวว่าควรจะทำอย่างไร
การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตสังคม Reva Rubin
ระยะอิสระ (Interdependent phase หรือ Letting go phase) เกิดหลังวันที่ 10 ของการคลอด
มารดาจะเริ่มีปฏิสัมพันะ์กับสังคมโดยในส่วนลึกของจิตใจยังห่วงใยบุตร
การพยาบาล คือ ประคับประคองความรู้สึกของมารดาให้คำปรึกษา ช่วยให้มารดารู้สึกปลอดภัยและอบอุ่นในการเข้าสังคม และแสดงบทบาทมารดาอย่างเหมาะสม
5.4 การส่งเสริมสุขภาพมารดาหลังคลอด
การดูแลความสะอาดและการป้องกันการติดเชื้อ
การติดเชื้อการติดเชื้อที่แผลฝีเย็บและโพรงมดลูกและปีกมดลูก ใช้ใช้น้ำเปล่าและสบู่ทำความสะอาดได้ เช็เช็ดจากหน้าไปหลังห้ามย้อนศร
ก่อนทำความสะอาดควรล้างมือให้สะอาด ใส่ผ้าอนามัยจากหน้าไปหลังเปลี่ยนผ้าอนามัยบ่อยบๆ อย่างน้อยทุก 4 ชั่วโมง
อาบน้ำทุกวันอย่างน้อยวันละสองครั้งหรืออาจมากกว่าสองครั้งก็ได้ ควรใช้ควรใช้วิธีตักหรืออาบน้ำจากฝักบัว ไม่ควรลงแช่ในแม่น้ำลำคลองหรืออ่างอาบน้ำ
อาการผิดปกติที่ควรมาโรงพยาบาลก่อนวันนัด/การมาตรวจตามนัด/การมีเพศสัมพันธ์หลังคลอด
มีไข้ หนาวสั่น
เต้านมแดงเจ็บ เป็นตุ่มหนอง
ปวดมดลูกมากกว่าตอนอยู่โรงพยาบาล\ปวดท้องน้อยข้างใดข้างหนึ่ง
แผลบวม เจ็บตึง มีเลือด มีหนองไหลจากแผล
น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น ออกมากกว่าวันละ 4 ผืน ชุ่มผ้าอนามัย
ปัสสาวะแสบขัด มีกลิ่น ปัสสาวะขุ่น
ถ่ายอุจจาระลำบาก
นอนไม่หลับ โดยไม่ทราบสาเหตุ
การมาตรวจตามนัด แพทย์นัดมาตรวจ 2 ครั้ง
การนัดหลังคลอด 7 วัน เพื่อติดตามแผลจากการคอดและอาการอื่นๆ
การนัดหลังคลอด 6 สัปดาห์ เพื่เพื่อติดตามมดลูกเข้าอู่คืนสภาพตามปกติ การตรวจหาชิ้นเนื้อของมะเร็งปากมดลูกและเลือกชนิดการวางแผนครอบครัว
การคุมกำเนิดหลังการคุมกำเนิดหลังคอดควรเริ่มประมาณสี่สัปดาห์หลังคลอด
การมีเพศสัมพันธ์หลังคลอดและการวางแผนครอบครัว
งดมีเพศสัมพันธ์ 4-6 สัปดาห์
อาหาร/การพักผ่อน/การขับถ่าย/การออกกำลังกาย
อาหาร
ดื่ดื่มน้ำได้ตามปกติและให้สารน้ำตามแผนการรักษา
การพักผ่อนและการนอนหลับ
ควรได้มีการพักผ่อนและนอนหลับ ให้เพียงพอ นอกจากเป็นการผ่อน คลายความตึงเครียดจากการคลอดแล้วยังช่วยให้การสร้างน้ำนมเป็นไปด้วยดี
การทำงานหลังคลอด
มารดาหลังคลอดงดการทำงานที่ออกแรงจนรู้สึกเหนื่อย
ไม่ยกของที่มีน้ำหนักเกิน5กิโลกรัม -ควรกลับไปทางานตามปกติหลังคลอด3เดือน
สามารถบีบเก็บน้ำนมวางแผนการให้มีการหลั่งน้ำนมต่อเนื่องได้ตลอด มากกว่า 6 เดือน
การขับถ่าย
ไม่กลั้น ปัสสาวะ ควรถ่ายปัสสาวะครั้งแรกภายใน 6-8 ชม. หลังคลอดรกบางรายไม่กล้าเบ่ง ไม่ต้องกลัวแผลแยก
การถ่ายอจุจาระ เมื่อได้พักผ่อนและได้รับประทานอาหาร มักจะถ่ายได้ ประมาณวันที่ 2-3 หลังคลอด
การออกกำลังกาย
หลังคลอดภายใน7วันใช้ท่าบริการการหายใจ บริหารช่องอก,กล้ามคอ,หลัง,ไหล่ส่วนบริเวณฝีเย็บช่องท้องและเชิงกราน ให้แนะนำเมื่อเริ่มไม่รู้สึกเจ็บบริเวณแผลฝึเย็บหรือผ่าตัดคลอด
ไม่หักโหมมากเกินจนรู้สึกเหนื่อยมากใจสั่น
ไม่ยกของที่มีน้ำหนักเกิน 5 กิโลกรัม
ท่าบริหารร่างกายหลังคลอด มี 7 ท่า
ท่าท่ี1นอนหงายราบไม่หนุนหมอนแขนเหยียดตรงตามลำตัวสูดลมหายใจเข้าเต็มที่
ท่าท่ี2นอนหงายไม่หนุนหมอนแขนเหยียดตรงตามลไตวัยกศีรษะขึ้นให้ค้างจรดหน้าอกแล้ววางศีรษะลง
ท่าท่ี3นอนหงายราบไม่หนุนหมอนหงายกางแขนออกให้ตั้งฉากกับลำตัวยกกแขนขึ้นจนฝ่ามือแตะกับแขนเหยียดตรงพักไว้สักครู่จึงลดแขนลงไว้ข้างลำตัว
ท่าท่ี4นอนหงายราบไม่หนุนหมอนแขนเหยียดตรงลำตัวงอ
ขาขวาขึ้นให้ส้นเทาสัมผัสกับก้นในขณะท่ีขาซ้ายเหยียดตรงแล้วเหยียดขาขวางอขาซ้ายขึ้น
ท่าที่ 5 นอนหงายราบไม่หนุนหมอนแขนเหยียดตรงลำตัว
กระดกเท้าให้น่องและต้นขาเกร็งสักครู่กดเท้าลงสักครู่แล้วผ่อนคลาย
ท่าท่ี6นอนหงายไม่หนุนหมอนชันขาทั้ง2 ข้างขึ้นให้เข่า
ชิดก้น เท้าห่างกันพอควรยกสะโพกขนึ้ละเกร็งเนื้อสะโพกกล้ามเนื้อบริเวณรอบ ๆ ช่องคลอด พัก ไว้สักครู่แล้วค่อย ๆ วางสะโพกลงพร้อมกับค่อยๆ ผ่อนคลาย กล้ามเนื้อท่ีเกรง็ไว้
ท่าท่ี7นอนคว่ำใช้หมอนรองบริเวณหน้าท้อง
2 ใบวางแขนข้างลำตัวหันหน้าไปด้านใดด้รนหนึ่งนอนนานประมาณ 30นาที
การให้คำแนะนำมารดา เรื่องการเลี้ยงลูกและสังเกตอาการผิดปกติของลูก
สังเกตทารกร้องบ่อย\นอนมากกว่าตื่น การงแขนขาเมื่อร้อง\ดิ้น
การขับถ่ายอุจจาระจำนวนครั้งต่อวัน ลักษณะเหลวสีเปลี่ยนแปลงจากขี้เทาเป็นสีเหลืองทอง\สีเหลืองปกติ
สีปัสสาวะจำนวนครั้งต่อวัน สีเหลือง\เข้มจาง
สีผิว ใบหน้า แขนขา ลำตัว อาจจะเป็นอาจจะเป็นสีเหลืองจากภาวะเหลืองในทารกแรกเกิด
การติดเชื้อการติดเชื้อที่ ตา สะดือ บริเวณที่ฉีดวัคซีนระบบทางเดินหายใจท้องเสีย ผื่นตามตัว
ทารกเพศหญิงบางราย อาจมีตกขาว\เลือดออกเล็กน้อยทางช่องคลอด
5.5 การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาทารก หลังคลอดและครอบครัว
มารดาจะค่อยๆ สร้างความสัมพันธ์ระหว่างแม่และลูกขึ้นรู้สึกสนใจและคุ้นเคยโดยให้ใกล้ชิดกันมากๆ
5.3 การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การผลิตน้ำนมในระยะหลงัคลอดเมื่อระดับ Hormone Estrogen และ Hormone Progesterone ลดลงจะเริ่มมี การผลิตน้ำนม การกระตุ้น การผลิตน้ำนมโดยการดูดนมของทารกซึ่งจะกระตุ้นปลายประสาทบริเวณหัวนม ไปตามไขสันหลังสู่สมองส่วนกลาง แล้วกระตุ้ร Hypothalamus ให้มีการหลั่ง Hormone Prolactin จากต่อม Anterior Pituitary
การหลั่งน้ำนม เรียกว่าLet down reflex เร่ิมต้นเมื่อทารกดดูนมมารดา Posterior pituitary gland จะปลอ่ย Hormone Oxytocin ทำให้เนื้อเยื่อรอบๆ alveoli (อัลวิโอไลเป็น เนื้อเยื่อผนังของต่อมน้ำนม)หดตัว เมื่อทารกดดูนมอาจจะมีน้ำนมไหลในข้างที่ไม่ได้ดูดได้ reflex การขับน้ำมน อาจจะถูกยับยั้งเนื่องจาก ความวิตกกังวล ความอ่อนเพลีย ความเจ็บปวดความขัดแย้งทางอารมณ์ความ เศร้าโศกทำให้การผลิตน้ำนมลดลงชั่วคราว
วิธีให้การนมบุตร
ล้างมือเช็ดทำความสะอาด เต้านม หัวนม ด้วยน้ำสะอาด
นั่งหรือนอนในท่าสบายอาจใช้หมอนช่วยวางรองตัวเด็กเพื่อให้ ปากเด็กอย่รูะดับเดียวกับหัวนม
ให้ลูกอมหัวนมลึกๆ ถึง Areola เหงือกกดบริเวณ Areola จึงกระตุ้นให้มีการหลั่ง HormoneProlactinและHormoneOxytocinกระตุ้น การสร้างและขับน้ำนม
ให้กดลูกดูด บ่อยๆ อย่างน้อย ทกุ 2-3 ชม.
ในแต่ละมื้อให้ลูกดูดทั้งสองข้าง โดยเริ่มดูด 5 นาทีต่อไป10นาที ต่อไป15นาที ในมื้อถัดไป ให้ลูกเริ่มดดูจากข้างที่ค้างไว้ก่อน สลับกันไป
เมื่อลูกอิ่มแล้วก่อนเอาหัวนมออกจากปาก แม่ใ่ช้นิ้วกดคางเบาๆหรือเขี่ยข้างมุมปากเพื่อให้เด็กอ้าปากก่อนถอนหัวนม ออกจากปากลกูเพื่อป้องกันหัวนมถลอก
หลังให้นม ควรทำความสะอาดเต้านม หัวนม และซับให้แห้ง
จับเด็กให้นั่งหรืออุ้มพาดบ่าลูบหลังให้เรอ ป้องกันท้องอืดและสำรอก
ท่าอุ้มและประคองเต้านม
Cradle hold
Modified / cross cradle hold
Clutch hold หรือ Football hold
Side lying position
C-hold Technique
U-hold Technique
V-hold Technique