Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพของทารกแรกเกิด, การประเมินและการดูแล…
การประเมินภาวะสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพของทารกแรกเกิด
1.การเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยาของทารกแรกเกิด
Adaptation of respiratory system
ในระหว่างการคลอด การที่ทารกเคลื่อนตัวผ่านช่องคลอดจะทําให้ทรวงอกของทารกถูกรีดบีบรัด และน้ําคร่ำที่อยู่ในปอดและทางเดินหายใจถูกรีดออกมาได้ประมาณ35มลิลิลิตร
อัตราหายใจปกติระหว่าง 30-60 ครั้ง/นาที เฉลี่ย 40 ครั้ง/นาที
Adaptation of the cardiovascular system
การไหลเวียนโลหิตในครรภ์ (fetal circulation)
โลหิตแดงจากมารดาจะเข้าสู่ทารกทาง umbilical vein ซึ่งเข้าสู่ตับและต่อเข้าสู่ inferior vena cava (IVC) ผ่านทาง ductus venosus, จาก IVC โลหิตซึ่งส่วนใหญ่เป็นโลหิตแดงจะเข้าสู่ right atrium และ เข้าสู่ left atrium ผ่านทาง foramen ovale
อัตราการเต้นของหัวใจอยู่ในช่วง 100 – 150 /นาที Pulse เฉลี่ย 140 ครั้ง/นาที (140±20) อาจ พบสูงถึง 180 ครั้ง/นาที ใน 4 ชั่วโมง หลังคลอดหลังจากน้ันปกติ
โรคหัวใจพิการแตรกําเนิด (Congenital heart defects)
แบ่งออกตามลักษณะทางคลินิกเป็น 2 กลุ่ม
1.กลุ่มที่ไม่มีอาการเขียว(Acyanotic)
• พวกที่มีเลือดลัดงจรจากซ้ายไปขวา (Left to right shunt)
• พวกมีการตีบแคบ (Cyanotic lesion)
2.กลุ่มที่มีอาการเขียว (Cyanotic) [แบ่งตามปริมาณเลือดที่ไปปอด
• พวกที่มีเลือดไปปอดน้อยลง
• พวกที่มีเลือดไปปอดมากขึ้น
Thermal regulation and thermal adaptation
การเพิ่มความร้อน
การสูญเสียความร้อน (heat loss)
2.1 การนําความร้อน (conduction)
2.2 การพาความร้อน (convection)
2.3 การระเหยของน้ํา (evaporation)
2.4 การแผ่รังสี (radiation)
วัดอุณหภูมิร่างกายทันทีแรกเกิดและวัดตามอาการของทารก
จัดเตรียมสภาพสิ่งแวดล้อมภายในห้องคลอด
4.1 การนําความร้อน (conduction)
4.2 การพาความร้อน (convection)
4.3 การระเหยของน้ํา (evaporation)
4.4 การแผ่รังสี (radiation)
5.การเคลื่อนย้ายทารก
สังเกตลักษณะสีผิวของทารก
Adaptation of fluid and electrolytes homeostasis
Water Metabolism
ปริมาณน้ําในร่างกายทารกแรกคลอดและองค์ประกอบของน้ําในส่วนต่างๆของ ร่างกาย (compartments) จะแตกต่างจากเด็กโต กล่าวคือปริมาณน้ําทั้งหมดในร่างกายทารกมีถึง 75% ของ น้ําหนักตัวและมากกว่าเด็กโต โดยท่ี 60% ของน้ําจํานวนนี้ (ประมาณ 35% ของน้ําหนักตัว)
Sodium metabolism
ไตซึ่งจะขับsodiumออกจากร่างกายเมื่อ เกิดsodiumloadความสามารถในการขับเกลือจะมากข้ึนตามอายุกระทงั่ทํางานได้เต็มท่ีเมื่ออายรุาว1ปี
Homeostasis
insensible water loss (IWL)
Renal water loss
ความผิดปกติของสมดุลของน้ําและการรักษา
การประเมินทางคลินิก
1.1 Mild dehydration
1.2 Moderate dehydration
1.3 Severe dehydration
Calcium metabolism
ระดับ calcium ในเลือดในทารกแรกคลอด
จะต่ำที่สุดใน 24-48 ชั่วโมงหลังคลอด
Energy metabolism
ในครรภ์มารดาทารกจะรักษาระดับของ glucose
ในเลือดอยู่ที่ 70-80% ของระดับ glucose
Bilirubin metabolism and hyperbilirubinemia
ภาวะ hyperbilirubinemia คือภาวะที่มี bilirubin ในเลือดสูงกว่า 3 mg% โดยปกติ ระดับ bilirubin สูงขึ้นในเวลา 3 - 4 วัน
pathological jaundice เกิดจากการสร้าง bilirubin มากขึ้นหรือขับ bilirubin ออกได้น้อยลงหรือทั้งสองอย่าง การเพิ่มขึ้นของ bilirubin อย่างรวดเร็วใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอดมักเกิดจากการ สร้างมากเกินไป (overproduction)
Neonatal hematology and host defense mechanism
Total red blood cell volume มีค่าสูงสุดเมื่อทารกคลอด ค่าblood volume ในทารกแรกเกิด ความแตกต่างของ blood volume ขึ้นกับอายุ (maturation) และขนาด (weight) ตลอดจนการผูกสาย
สะดือว่าช้าหรือเร็ว
Neonatal host defense mechanism
ภูมิคุ้มกันโรคในทารกแรกเกิดสามารถท่ี
จะป้องกันการติดเชื้อท่ัวๆไปได้
การประเมินภาวะสุขภาพทารกแรกเกิดทันที
ลักษณะ ทารกแรกเกิด
การประเมินคะแนน APGAR
คะแนน 7-10 คะแนน หรือ 7 คะแนนข้ึนไป
ทารกอยู่ในสภาพปกติ
คะแนน 4-6 คะแนน
อาจมีซึมปานกลาง
คะแนน 0-3 คะแนน
เป็นสภาวะท่ีไม่ดี ให้การช่วยเหลืออย่างรีบด่วน
การตรวจร่างกายทารกแรกเกิดท่ีครบถ้วนจากศีรษะถึงปลายเท้า (complete examination)
การเตรียมการก่อนการตรวจร่างกาย
ด้านส่ิงแวดล้อม และสถานท่ี
ด้านทารกแรกเกิด
ด้านผู้ตรวจ
4.ด้านอุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจร่างกาย
ลักษณะทั่วไปของทารกแรกเกิด
การตรวจอายุครรภ์(gestational age)
โดยวิธี Ballard Maturational Score
ส่วนที่ 1 การประเมินความสมบูรณ์ด้านกายภาพ (physical maturity)
ส่วนที่ 2 การประเมินความสมบูรณ์ของกล้ามเนื้อและประสาท (Neuromuscular maturity)
ตรวจร่างกายพร้อมประเมินความผิดปกติของทารก
การตรวจดู Reflex พร้อมประเมินความผิดปกติ
การประเมินและการดูแลทารกแรกเกิดที่มีความผิดปกติเล็กน้อย
1)Clubfoot:เท้าปุก
ความผิดรูปแบบข้อเท้าจิกลงล่างบิดเข้าในและฝ่าเท้าหงายขึ้นส้นเทา้ไม่ถึงพื้นทําให้มีรูปร่างเหมือนไม้กอล์ฟอาจเป็น ข้างเดียวหรือสองข้างก็ได้
ชนิดและภาวะเท้าปุก
เท้าปุกแท้ (Congenital Clubfoot)
เท้าปุกเทียม(PosturalClubfoot)
การตรวจแยก
ดูรูปร่างเท้าในรายละเอียด
การดัดเบาๆ
การรักษาโรคเท้าปุก
กลุ่มที่มีเท้าอ่อนสามารถดัดให้เข้ารูปได้ตั้งแต่แรกเกิด
กลุ่มที่มีเท้าแข็ง แพทย์จะทําการดัดเท้า และใส่เฝือกยาวตั้งแต่ปลายเท้าถึงต้นขา
Tongue - tie ลิ้นติด
เป็นภาวะผิดปกติแต่กําเนิดในช่องปาก ของเนื้อเยื่อที่ยึดเกาะใต้ลิ้นกับพื้นล่างของช่องปาก(lingual frenulum) สั้นและหนาตัว
อาการแสดง
• ลูกแลบลิ้นได้ไม่พ้นริมฝีปากหรือเหงือกบน
• ไม่สามารถเคลื่อนไหวลิ้นไปด้านข้างได้
• เมื่อแลบลิ้น ปลายลิ้นจะแบนไม่มน หรือเป็นเหลี่ยม ไม่แหลมมนอย่างทั่ว ๆ ไป
• ไม่สามารถกระดกปลายลิ้นขึ้นไปสัมผัสเพดานปากได้
• ปลายลิ้นอาจเป็นร่องหยักเข้ามา หรือเป็นรูปหัวใจ
การประเมิน
Hazel baker Assessment Tool
SIRIRAJ TONGUE- TIE SCORE(STT Score)
วิธีการรักษา
การผ่าตัด (Frenotomy )
ภาวะขี้เทาอุดตันลําไส้ (meconium impact)
อาการ
ทารก ท้องอืด โป่ง ไม่ดูดนม อาเจียน
การรักษาเบื้องต้น
การสวนระบายอุจจาระ (rectal irrigation)
การผ่าตัดเปิด colostomy
Lactose intolerance ภาวะพร่องเอนไซม์ย่อยนม, ภาวะพร่องแล็กเทส หรือภาวะแพ้น้ําตาลแลคโตส
สาเหตุ
ภาวะพร่องเอนไซม์แลคเตส (Primary lactase Intolerance) เกิดจากการที่ผนังลําไส้เล็กผลิตเอนไซม์แลคเตสและเบต้า-กาแลคโตสิเดสได้น้อยลงเรื่อยๆ ตามอายุที่มากขึ้น
ภาวะขาดเอนไซม์ตั้งแต่เกิด (Congenital lactase deficiency) กลุ่มนี้พบได้น้อยและอาการเป็นตั้งแต่เด็ก เป็นความผิดปกติทางกรรมพันธุ์ที่ได้รับยีนส์ผิดปกติจากพ่อและแม่
ภาวะขาดเอนไซม์จากการเจ็บป่วย (Secondary lactose intolerance) เกิดจากผนังลําไส้เล็กถูกทําลายทําให้ ผลิตเอนไซม์แลคเตสและเบต้า-กาแลคโตสิเดสได้น้อยลง
อาการ
แน่นท้อง ท้องอืด • ปวดท้อง
• ท้องเสีย ถ่ายเหลว • ผายลมบ่อย
• คลื่นไส้ อาเจียน
การแยกโรค
แพ้อาหาร
ลำไส้แปรปรวน หรือ ไอบีเอส
สาเหตุร้ายแรง เช่น มะเร็งลําไส้ใหญ่ โรคบิดเรื้อรัง เบาหวาน คอพอกเป็นพิษ เอดส์ เป็นต้น
Down’s syndrome
เกิดจากความผิดปกติของการลด
จํานวนของโครโมโซม(หรือ เรียกว่าแท่งพันธุกรรม)
การตรวจวินิจฉัย
การตรวจวิเคราะห์โครโมโซม ซึ่งทําได้ที่โรงพยาบาล
การรักษา
การดูแลสุขภาพทางกาย
การประคับประคองจิตใจ เป็นต้น
การพยาบาล
การยอมรับความจริงของครอบครัวต่อสภาพของเด็ก
ให้ความรู้เกี่ยวกับตัวเด็กแก่ครอบครัว
การอบรมเด็กปัญญาอ่อนแบ่งตามขั้นตอนของสติปัญญาของแต่ละบุคคล
การฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กควรได้รับ
การฟื้นฟูให้เร็วที่สุดโดยการกระตุ้นพัฒนาการทุกด้าน
แนะนําแหล่งขอความช่วยเหลือ
ป้องกันการเกิดซ้ำในครอบครัว
การคุมกําเนิดแบบถาวร
การส่งเสริมพัฒนาการ
การป้องกัน
การให้คําปรึกษาแนะนําทางพันธุศาสตร์
Neonatal teeth ฟันงอก
มีสีขาวประกอบด้วยเคราตินเป็นส่วนใหญ่ สามารถจับโยก
ออกได้ง่ายทารกบางคนเกิดมาพร้อมกับมีฟันซี่เล็ก ๆ 1 หรือ 2 ซี่ ส่วนใหญ่มักพบตรงกลางสันเหงือก ดา้ นหน้าของกระดูก
ขากรรไกรล่าง
การดูแล
ถอนฟันที่ขึ้นมา ตามปกติเมื่อทารกอายุ 1 วัน ทารกมักจะหลับตลอดเวลา ทันตแพทย์จะค่อยๆ อ้าปากทารก ขึ้น และใช้สําลีก้อนเล็ก ๆ ที่ชุบยาชา แตะที่โคนฟันสักครู่ จากนั้นก็ใช้คีมอันเล็ก ถอนฟันออก ทารกจะร้องเสียงดังครั้ง หนึ่ง แล้วจะหลับต่อ จากนั้นใช้ผ้าก๊อซที่ฆ่าเชื้อโรค แล้วกดไว้บนสันเหงือก เพื่อให้เลือดหยุด สัก 3-4 นาที จึงส่งทารก กลับไปให้พยาบาลเด็กอ่อนดูแลต่อไปมารดากส็ามารถให้นมบตุรได้ตามปกติ
Subtemperature:hypothermiaภาวะอุณหภูมิกายต่ำในทารกแรกเกิด
อุณหภูมิที่วัดทางทวารหนักหรือรักแร้ ต่ำกว่า 36.5องศาเซลเซียส หรือที่วัดจาก ผิวหนังของลําตัวต่ำกว่า 36องศาเซลเซียส
การเพิ่มความร้อน
การสูญเสียความร้อน (heat loss)
• การนําความร้อน (conduction)
• การพาความร้อน (convection)
• การระเหยของน้ํา (evaporation)
• การแผ่รังสี (radiation)
อาการและอาการแสดง
ผิวหนังเย็นกว่าปกติหรือมีอาการเขียวคล้ำ (cyanosis)
อาเจียน ท้องอืดหรือดูดนมช้า หายใจเร็วหรือหายใจลําบาก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
อาจพบสิ่งผิดปกติ
•น้ําตาลในเลือดต่ำ BUNฟอสฟอรัสโปแตสเซียมคั่งในเลือด
• การวิเคราะห์ก๊าซในเลือดแดง พบภาวะเลือด
เป็นกรด PaCO2 สูง PaO2 ต่ำ
• ภาวะเกล็ดเลือดต่ำ
การรักษาภาวะอุณหภูมิกายต่ำ
การเพิ่มอุณหภูมิกายอย่างช้า (slow rewarming)
2.การเพิ่มอุณหภูมิกายอย่างเร็ว (rapid rewarming)
sucking defect
พยาธิสรีรวิทยาการดูดในเด็กปกติ
ทารกจะมีการดูดเป็นเมื่ออายุครรภ์ได้ 28 สัปดาห์ แต่การดูดกลืนจะเริ่มที่ 33 สัปดาห์ และจะสามารถดูดกลืนได้เต็มที่เมื่อ อายุ 36 สัปดาห์ โดยจะดูดหัวนมด้วยอัตรา 2 ครั้งต่อวินาที
ปัญหาการดูดกลืนของทารกมักพบปัจจัยต่างๆ
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยภายนอก
สังเกตจากอาการ
• ระหว่างที่เด็กกินนม แรกๆ เด็กจะไอ มีอาการเหมือนกับจะขย้อนนม
• หากสําลักมาก เด็กจะไอแรงถึงขนาดหน้าเขียว
• กรณีที่มีอาหารอื่นเข้าไปร่วมด้วย เด็กอาจตัวเขียว มีอาการข้างเคียงตามมา
ข้อป้องกันให้ถูกวิธี
ควรให้ลูกได้รับนมแม่เพียงอย่างเดียวในช่วง 6 เดือนแรก
ของเล่นชิ้นเล็กชิ้นน้อย หรือของเล่นที่สามารถแตกหักออกได้ง่ายไม่ควรนํามาให้ลูกเล่น
เลือกประเภทอาหารที่เหมาะกับวัย
จับลูกเรอทุกครั้งหลังที่กินนมเสร็จ
วิธีช่วยเหลือเบื้องต้น
• สําลักนม จับเด็กนอนตะแดง ให้ศีรษะเด็กต่ำลง
• วิธีตบหลัง โดยจับเด็กนอนคว่ำให้ศีรษะตำ่ลงบนแขน แล้วใช้ฝ่ามือตบกลางหลังบริเวณกระดูก ติดต่อกัน 5 ครั้ง
• วิธีกระแทกหน้าอก โดยจับเด็กพลิกหงายขึ้นบนตัก ในท่าศีรษะต่ำใช้นิ้วมือ 2 นิ้วกระแทกแรงๆ ลงบนกระดูกหน้าอก เหนือลิ้นปี่ 5 ครั้ง
undescended testis
สาเหตุ
1)ความผิดปกติทางกายวิภาคของผนังหน้าท้องส่วนล่าง
2) primary endocrine disorder
3) idiopathic
ประเภทของการไม่พบอัณฑะในถุง
1.retractile testes
2.ectopic testes
3.monorchia หรือ anorchia (absence of testes)
4.true undescended testes
ประเภทของการรักษา
การรักษาด้วยฮอร์โมน
• hCG
• Gn-RH
การผ่าตัด
Neonatal Jaundice ตัวเหลือง หรือ ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด (Neonatal Hyperbilirubinemia)
เกิดจากสารที่มีชื่อว่า บิลิรูบิน (Bilirubin)
กลไกการเผาผลาญบิลิรูบิน(Bilirubin Metabolism )
การสร้าง conjugate bilirubin ที่ตับและการขับ bilirubin ออกทางลําไส้ในทารกแรกเกิดที่ช้ากว่า ปกติเป็นสิ่งสําคัญที่ทําให้เด็กเกิดภาวะตัวเหลืองได้ง่าย
สาเหตุที่ทําให้เด็กตัวเหลือง
1.ภาวะเม็ดเลือดแดงแตกปกติในทารกแรกเกิด
2.มีการทําลายเม็ดเลือดแดงมากกว่าปกติ
3.การทํางานของตับยังไม่สมบูรณ์
4.ความผิดปกติที่ลําไส้
Neonatal Jaundice
1.ภาวะตัวเหลืองทางสรรีภาพ (Physiological Jaundice)
2.ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิสภาพ (PathologicJaundice)
สิ่งตรวจพบทางคลินิก
ประวัติการตั้งครรภ์และตัวเหลืองในบุตรคนก่อน ๆ
ประวัติการใช้ยาบางอย่างในมารดาขณะใกล้คลอด
อาการและอาการแสดง
อาการตัวเหลือง
อาการซีดหรือบวม
ตับหรือม้ามโต
ซึม
จ้ำเลือดตามตัว
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1.ระดับ bilirubin ในเลือด
2.ตรวจนับเม็ดเลือด
3.ตรวจหมู่เลือดและ Rh ของท้ังแม่และลูก
4.Direct Comb’s test
5.ควรทํา G6PD screening test
6.การตรวจพิเศษเฉพาะโรค
Kernicterus
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิด Kernicterus
ระดับ bilirubin
การรวม bilirubin กับ albumin
Blood brain barrier
เซลลส์มอง
การรักษา
ใช้แสงบําบัด หรือการรักษาโดยการส่องไฟ(phototherapy)
ถ่ายเปลี่ยนเลือด (exchange transfusion)
11). น้ําตาไหลหรือภาวะท่อน้ําตาอุดตัน (Dacryostenosis)
ทารกแรกเกิดอาจมีอาการตีบของท่อนี้ทําให้น้ําตาเอ่อเบ้า
ไหลออกนอกตามากได้
อาการ
ข้างตานั้นจะมีน้ําตาคลอตาตลอดเวลา เหมือนคนร้องไห้ใหม่ ๆ
การรักษา
นวดบริเวณท่อน้ำตา
การใส่เครื่องมือเพื่อไปขยายบริเวณที่ตีบตัน
การพยาบาลทารกแรกเกิดประจำวัน
การส่งเสริมความสะอาดของร่างกายและ
ความสุขสบายของทารก
โดยการอาบน้ํา หรือเช็ดตัว และสระผมให้ทารกทุกวันวันละ 1 ครั้ง เพื่อให้ร่างกายสะอาด
การส่งเสริมการได้รับสารอาหารและการขับถ่าย
ทารกแรกเกิด ต้องการน้ําประมาณวันละ 100-200 มิลลิกรัมต่อน้ําหนักตัว 1 กิโลกรัม
การเปลี่ยนแปลงอุจจาระของทารกที่กินนมแม่
• สีเทา – ใน 1-2 วันแรก
• เขียวเข้มเป็นสีเขียวปนเหลือง – ในวันที่ 3- 4 หลังคลอด
• สีเหลืองทองถึงเหลว คล้ายโจ๊ก – หลังจากวันที่ 4
• คล้ายเม็ดมะเขือปน – สัญญาณที่ดีว่าทารกได้รับน้ํานมแม่เพียงพอ
• อุจจาระจะมีเนื้อมากขึ้น – เมื่อเด็กทารกอายุ 6 สัปดาห์ขึ้นไป
• น้ําสีเขียวๆ ปนเม็ดมะเขือ
• อุจจาระปกติสีเหลืองทองของทารกอายุ 5 เดือน
การประเมินการให้นมลูกด้วยคะแนนการเข้าเต้า
3.การส่งเสริมการพักผ่อน
แนะนําให้มารดาให้นมในกลาวงวันทุก2- 3 ชั่วโมงและปลุกให้ทารก ตื่นมารับนม และเล่นกับมารดาโดยใช้สียงกระตุ้น ให้ตื่นในช่วงกลางวันมากกว่ากลางคืน เพื่อให้มารดาได้พักผ่อน
4.การส่งเสริมการได้รับภูมิคุ้มกันโรค
ทารกก่อนออกจากโรงพยาบาลควรได้รับวัคซีนตามปกติ
5.การป้อกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
ทารกควรได้รับการดูแลและปลอดภัยจากอาการเปลี่ยนแปลงที่ผิดปกติ
6.ส่งเสริมทารกให้ได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
พยาบาลควรแนะนําบิดามารดา เพื่อให้ดูแลทารกและประเมิน ความผิดปกติได้ถูกต้อง
การปฏิบัติการพยาบาลทารกในระยะหลังคลอด
กิจกรรมการพยาบาลทารกในระยะแรกรับย้าย
ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการตั้งครรภ์ การคลอด และภาวะเสี่ยงต่างๆที่อาจมีผลต่อทารกและ การส่งต่อข้อมูล
ตรวจสอบความถูกต้องของเพศและป้ายข้อมือทารกทันทีแรกรับ
ตรวจร่างกายและสัญญาณชีพทุก4ชั่วโมง
ดูแลความอบอุ่นและความปลอดภัยของทารกตลอดเวลา
ดูแลความสะอาดและความสุขสบายของร่างกายทารก
ประมินความสามารถในการดูดกลืน
ดูแลเรื่องการขับถ่ายของทารก
ตรวจสอบการได้รับวิตามินเคและดูแลให้ได้รับวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบีเข็มที่1และ อธิบายวิธีปฏิบัติ การสังเกตอาการผิดปกติภายหลังได้รับภูมิคุ้มกันโรค
จดบันทึกปัญหาและกิจกรรมทางการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาลทารกประจําวัน
1.ประเมนิสัญญาณชีพและตรวจร่างกายเพื่อประเมินภาวะแทรกซ้อนทุก4ชั่วโมง
ดูแลความอบอุ่นและความสุขสบาย และการพักผ่อนของทารกตลอดเวลา
ทําความสะอาดร่างกาย ตา สะดือ และสังเกตภาวะแทรกซ้อนวันละครั้งภายหลังการอาบน้ํา
ดูแลการขับถ่ายและดูแลความสะอาดหลังการขับถ่ายทุกครั้ง
ดูแลให้ได้รับนมมารดาอย่างน้อยวันละ9-10ครั้งและจับเรอลม
ประเมินการเปลี่ยนแปลงน้ําหนักตัวของทารกเพื่อค้นหาภาวะผิดปกติวันละครั้ง
ส่งเสริมสัมพันธภาพกับมารดา บิดา และครอบครัว
8.ดูแลให้ทารกได้รับการตรวจเลือดเพื่อคัดกรองภาวะพร่องฮอร์โมน
ได้รับการช่วยเหลือและแก้ขแนะนํามารดาและครอบครัวรวมทั้งส่งต่อเมื่อมีภาวะแทรกซ้อน
จดบันทึกปัญหาและกิจกรรมทางการพยาบาล
การให้ภูมิคุ้มกันวัคซีนสําหรับทารกแรกเกิดและการป้องกันภาวะแทรกซ้อน
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค(Immunization)
การฉีดวัคซีน
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน
แบ่งออกได้เป็น 2 วิธี
1) การให้ภูมิคุ้มกันจากคน หรือ สัตว์ที่สร้างมาก่อนแล้ว (passive immunization)
2) การกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันเอง (active immunization)
ชนิดของวัคซีน
1) ท็อกซอยด์ (toxoids)
2) วัคซีนชนิดเชื้อตาย (killed vaccine)
3) วัคซีนชนิดเชื้อเป็น (live attenuated vaccine)
วิธีการให้วัคซีน
1) การรับประทาน
2) การพ่นเข้าทางจมูก
3) การฉีดเข้าในชั้นผิวหนัง
4) การฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
5) การฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
วัคซีนที่ทารกแรกเกิดทุกคนต้อง
ได้รับก่อนจําหน่ายออกจากโรงพยาบาล
BCG: Bacillus Calmette Guerin (วัคซีนป้องกันวัณโรค)
ฉีดเข้าในผิวหนัง (ID: intradermal ) ผิวหนังบริเวณกล้ามเนื้อส่วนบนของต้นแขนขวา (Deltoid muscle) ขนาด 0.1 มล.
2.HBV: Hepatitis B Vaccine วัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบ บี
• เด็กแรกเกิด ฉีดครั้งละ 0.5 มิลลิลิตรเข้ากล้ามเนื้อบริเวณต้นขา
นอก (Vastus lateralis muscle)
• เด็กแรกเกิด-10 ปี ฉีดครั้งละ 0.5 มิลลิลิตรเข้ากล้ามเนื้อบริเวณต้นขา นอกหรือกล้ามเนื้อต้นแขน
-เด็กอายุเกิน 10 ปี-ผู้ใหญ่ ฉีดครั้งละ 1 มิลลิลิตรเข้ากล้ามเนื้อต้นแขน ไม่ควรฉีดที่สะโพก เพราะอาจฉีดเข้าในชั้น ไขมันใต้ผิวหนัง ซึ่งจะได้ ภูมิต้านทานต่ํา และต้องฉีดวัคซีนให้ครบชุด (3 ครั้ง)
การฉีดวัคซีนครั้งที่ 2 ให้ห่างจากการฉีดครั้งแรก 1-2 เดือน
-การฉีดวัคซีนครั้งที่ 3 ให้ห่างจากการฉีดครั้งแรก 6 เดือน