Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เด็กชายเอกชัย วิโรจน์ฤทธิ์ Dx.TOF severe subvalvular PS - Coggle Diagram
เด็กชายเอกชัย วิโรจน์ฤทธิ์
Dx.TOF severe subvalvular PS
ข้อมูลพื้นฐาน
เพศชาย
อายุ 2 ปี
เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย
ศาสนา พุทธ
ภูมิลำเนา กรุงเทพ
รายได้บิดามารดาเพียงพอกับค่าใช้จ่ายในครอบครัว
สิทธิการรรักษา : สิทธิเบิกตรง กรมบัญชีกลาง
ข้อมูลภาวะสุขภาพ
อาการสำคัญ : แพทย์นัดเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล เพื่อผ่าตัด total repair
V/S แรกรับ T=36.7 ๐C RR=24/min HR=90/min BP=94/60 mmHg.
ประวัติสุขภาพหรือการเจ็บป่วยในอดีตของเด็ก ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น TOF with severe subvalvular PS ตั้งแต่แรกเกิด มี central cyanosis 3 เดือนก่อนมาโรงพยาบาลเกิดภาวะ hypoxic spell รับประทานยาและตรวจตามนัดสม่ำเสมอ ได้รับวัคซีนครบตามกำหนด
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น TOF with severe subvalvular pulmonary stenosis ตั้งแต่แรกเกิด มี central cyanosis 3 เดือนก่อนมาโรงพยาบาลเกิดภาวะ hypoxic spell รับประทานยา propranolol (10) ¼ tab สามเวลาหลังอาหาร และตรวจตามนัดสม่ำเสมอ ได้รับการรักษาประคับประคองอาการของโรคและรอการผ่าตัด total repair ตามแผนการรักษา
ประวัติสุขภาพของครอบครัวของเด็ก เป็นบุตรคนที่ 2 ของครอบครัว มีประวัติคุณยายเป็นโรคหัวใจ รู้ว่าเป็นโรคหัวใจ ตั้งแต่เป็นสาว เริ่มมีอาการเจ็บหน้าอก ตรวจแล้วพบลิ้นหัวใจรั่ว รักษาด้วยการกินยา ตาเป็นโรคไขมันและความดันโลหิตสูง ปู่และย่าเสียชีวิตด้วยโรคชรา เมื่ออายุ 84 ปี มารดาอายุ 33 ปี บิดาอายุ 42 ปี สุขภาพแข็งแรงดี มีพี่ชายอายุ 5 ปี สุขภาพแข็งแรงดี
การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
ด้านร่างกาย
ผู้ป่วยมีส่วนสูงน้อยกว่าเกณฑ์
พัฒนาการกล้ามเนื้อมัดใหญ่
กระโดดจากที่สูงได้
เดินบนเส้นตรงได้
แตะ และโยนฟุตบอลเหนือศีรษะได้
ยืนขาเดียวได้ชั่วครู๋
ถีบจักรยาน 3 ล้อได้บ้าง
พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก
ต่อบล็อกไม้ได้ 8 ชั้นหรือมากกว่า
จับดินสอด้วยนิ้วแทนการกำ
วาดรูปวงกลมตามแบบได้
ร้อยลูกปัดขนาดใหญ่ได้
ดูหนังสือได้ด้วยตนเอง
ด้านสติปัญญา
จากทฤษฎีพัฒนาการทางเชาว์ปัญญาของเพียเจต์
(Piaget’s Cognitive Development Theory) ผู้ป่วยสามารถเข้าใจต่อสิ่งต่างๆ ยังคงอยู่ในระดับเบื้องต้น เช่น เข้าใจว่าเด็กหญิง 2 คน ชื่อเหมือนกัน จะมีทุกอย่างเหมือนกันหมด แสดงว่าความคิดรวบยอดของเด็กวัยนี้ยังไม่พัฒนาเต็มที่ แต่พัฒนาการทางภาษาของเด็กเจริญรวดเร็วมาก
พัฒนาการด้านอารมณ์ สังคม
จากทฤษฎี Psychosocial development ของ Erik H. Erikson
ผู้ป่วยสามารถผ่านขั้นที่ 1 ระยะทารกมาได้จากการที่ได้รับความรัก
ความอบอุ่น การดูแลเอาใจใส่จากผู้ปกครองของเด็ก ทำให้เด็กเกิดความไว้วางใจจนสามารถบอกความต้องการของตนเองต่อมารดาหรือผู้อื่นได้ รวมทั้งสามารถเข้ากับบุคคลแปลกหน้าได้ดี
พัฒนาการด้านจริยธรรม
ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ผู้ป่วยจะปฎิบัติตามคำสั่งของผู้ใหญ่ หรือผู้ปกครอง
ประวัติการได้รับภูมิคุ้มกัน
วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบ บี (Hepatitis B vaccine /HBVac)
1 วัน / 2 เดือน /
6 เดือน
วัคซีนป้องกันวัณโรค (Bacillus Calmette-Guern Vaccine/BCG)
2 วัน
วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ (Diphtheria) โรคบาดทะยัก (Telanus) และโรคไอกรน (Pertussis) หรือ DTP
2 เดือน / 4 เดือน /
18 เดือน
วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ (Polio vaccine)
ชนิด IPV (inactivated vaccine)
2 เดือน / 4 เดือน /
18 เดือน
วัคซีนป้องกันโรคหัดหัดเยอรมันคางทูม
(Measles-Mumps-Rubellavaccine/MMR)
12 เดือน / 18 เดือน
วัคซีนป้องกันไข้สมองอักเสบเจอี
(Japanese encephalitis vaccine, JE)
12 เดือน
พยาธิสภาพ
อาการและอาการแสดง
ผู้ป่วยรูปร่างเล็ก ผิวสองสี ลักษณะเขียวซีด
ผิวเรียบ มีความยืดหยุ่นดี ผิวค่อนข้างแห้ง ไม่แตก
สัมผัสดูพบว่าอุณหภูมิกายอุ่น
อุ่น ปลายมือปลายเท้าและริมฝีปากซีด มีสีคล้ำ
เยื่อบุตาซีด
ฟังเสียงหัวใจพบ normal S1 single S2SEM gr.3/6 at LUSB
(left upper sternal border)
มีนิ้วปุ้ม (clubbing finger) ที่นิ้วมือเล็กน้อย นิ้วเท้าซีด
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Creatinine Measured CA2+ Bicarbonate (HCO3-) Anion gap Direct bilirubin Hemoglobin Hematocrit RBC count MCV WBC count Platelet count Lymphocytes Monocytes INR
ผลการตรวจพิเศษ
EKG พบหัวใจห้องล่างขวาโต (Bradycaraia 45-50/min)
Chest X-ray พบลิ้นหัวใจผิดปกติ
Echo พบความผิดปกติ
การรักษา
propranolol (10) ¼ tab สามเวลาหลังอาหาร
ผ่าตัด total repair
แบบแผนที่ผิดปกติ
1.แบบแผนการรับรู้ภาวะสุขภาพและการจัดการด้านสุขภาพ
จากการจรวจร่างกายพบ ผู้ป่วยรูปร่างเล็ก ผิวสองสี มีความยืดหยุ่นดี ผิวค่อนข้างแห้ง ไม่แตก สัมผัสดูว่าอุณหภูมิกายอุ่น ปลายมือปลายเท้าและริมฝีปาก ซีด มีสีคล้ำ เยื่อบุตาซีด ฟังเสียงหัวใจพบ normal S1 single S2 SEM gr.3/6 at LUSB (left upper sternal border) มีนิ้วปุ้ม (clubbing finger) ที่นิ้วมือเล็กน้อย ซึ่งอาการและอาการแสดงดังกล่าวเกิดจากพยาธิสภาพของโรคที่ผู้ป่วยเป็น
2.แบบแผนอาหารและการเผาผลาญ
จากการตรวจร่างกายพบ เยื่อบุตาซีด ริมฝีปากซีด คล้ำ ซึ่งเป็นความผิดปกติที่เป็นอาการและอาการแสดงของพยาธิสภาพของโรค ผู้ป่วยมีการเจริญเติบโตไม่เป็นไปตามเกณฑ์
4.แบบแผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย
จากการตรวจร่างกาย ฟังเสียงหัวใจพบ normal S1 single S2 SEM gr.3/6 at LUSB (left upper sternal border)
การวางแผนการพยาบาล
1 ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะเนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ เนื่องจากประสิทธิภาพการทำงานของหัวใจลดลง
2 เตรียมผู้ป่วยเข้ารับการผ่าตัด
3 ผู้ปกครองและญาติวิตกกังวลเกี่ยวกับการผ่าตัด