Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะและการดูแลภาวะสุขภาพของมารดาหลังคลอดปกติ - Coggle Diagram
การประเมินภาวะและการดูแลภาวะสุขภาพของมารดาหลังคลอดปกติ
ระยะหลังคลอด 3ระยะ
• ทันทีหลังคลอด (puerperiumimmediate) 24 ชม หลังคลอด
• หลังลอดระยะต้น (puerperiumearly)วันที่2-7วัน
• หลังคลอดระยะปลาย (puerperiumlate)2-6 สัปดาห์หลังคลอด
ระยะคลอดปกติ
ช่วงที่อวัยวะสืบพันธ์กลับสู่สภาพเหมือนก่อนตั้งครรภ์ 6-7สัปดาห์
ขบวนการที่หนทางคลอดมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อกลับคืนสู่สภาพปกติก่อนตั้งครรภ์
ขนาดมดลูก
น้ำคาวปลา
การเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก
ฝีเย็บ(อวัยวะสืบพันธ์ุภายนอก)
ประจำเดือน
อุณหภูมิ
สัญญาณชีพ
ทางเดินปัสสาวะ
ริดสีดวงทวาร
การแปลงแปลงทางด้านจิตสังคม blue
•Postpartumblueช่วง2-3วันจะวิตกกังวลสับสนเก่ียวกับตนเองลูกการแสดงออกอาจมีอาการนอนไม่หลับเบื่ออาหารร้องไห้ง่าย
การปรับตัวของมารดา
• ระยะที่มีพฤติกรรมพึ่งพา(Taking-inPhase)
ระยะน้ีอาจใชเ้วลา1-2วัน
• ระยะพฤติกรรมระหว่างพึ่งพาและไม่พึ่งพา
(Taking-Hold Phase)
ระยะน้ีใชเ้วลาประมาณ3-10วัน
สนในตนเองน้อยลง และสนใจบุตรมากข้ึนมารดาจะพึ่งพาตนเองมากข้ึน
การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตสังคม (Reva Rubin)
ระยะอิสระ (Interdependent phase หรือ Letting go phase) เกิดหลังวันที่ 10 ของการคลอดมารดาจะเริ่มมี
ปฏิสัมพันธ์กับสังคมโดยในส่วนลึกของจิตใจยังห่วงใยบตุร
ภาวะอารมณ์เศร้าหลังคลอด
(Postpartum blue)
จะพบในระยะ3-4วันแรกหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงระบบผิวหนัง
ฝ้าบริเวณใบหน้า
ลานนมเข้มขึ้น
Linea migraine เข้มขึ้น
เหงื่ออกเยอะ
ระบบทางเดินอาหาร Bowel movement
การเปลี่ยนแปลงระบบทางเดินอาหารและ การเผาผลาญอาหาร
1.การรบัประทานอาหาร
2.การขับถ่ายอจุจาระ
ฮอร์โมน
การเปลี่ยนแปลงระบบต่อมไร้ท่อ
1.ฮอร์โมนจากรก (Placental hormones)
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง (Pituitary hormones)
3.การเปลี่ยนแปลงของต่อมไร้ท่ออื่นๆ
น้ำหนัก Body condition
ระบบเลือด
1.ฮีมาโตคริทและฮีโมโกลบิน
2.เม็ดเลือดขาว
3.องค์ประกอบในการแข็งตัวของเลือด
การเปลี่ยนแปลงของระบบกล้ามเน้ือและโครงกระดูก
กล้ามเนื้อ1-2วันแรกมารดาหลังคลอดจะมีอาการ
เมื่อยและปวดกล้ามเนื้อ
โครงกระดูกหลังคลอด2-3วัน
ระดับฮอร์โมนรีแลคชินคอ่ยๆลดลง
การเปลี่ยนแปลงของระบบประสาท
ความไม่สุขสบายที่เกิดขึ้น เช่น อาการปวดหลัง
จะลดลงในช่วงหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงของระบบภูมิคุ้มกัน
การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
กระบวนการสร้างและหลั่งน้ำนม
การผลิตน้ำนม
จะเริ่มมีการผลิตน้ำนมการกระตุ้นการผลิตน้ำนม
โดยการดดูนมของทารก
การหลั่งน้ำนม
เมื่อทารกดูดนมมารดาPosteriorpituitaryglandจะปลอ่ย HormoneOxytocinทำให้เยื่อรอบๆalveoli
(อัลวิโอไลเป็น เนื้อเยื่อผนังของต่อมน้ำนม)หดตัว
การเปลี่ยนแปลงของเต้านมและการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดา
การสร้างน้ำนม เกิดจาก alveolus ถูกกระตุ้น
โดย hormone prolactin
เต้านม
เต้านมช่วงPregnancyจะขยายหลังคลอดจะขยายเพิ่มมากขึ้น Lobules เจริญมาก
กลไกการหลั่งน้ำนม
น้ำนมในช่วงแรก 1-2 วันหรือ 2-3 วัน จะเรียกว่า Colostrum
เป็นน้ำนมท่ีมีProteinสูงเกลือแร่สูง และIgAป้องกันโรคหลายอย่าง
ช่วยขับขี้เทา 5-7 วันจะเป็น Milk มาแทน
วิธีการให้นมบุตร
ข้อดีของน้ำนมมารดา
ประหยัด สะดวก สะอาด มีภูมิต้านทาน
การปฏิบัติตัวของแม่
ให้ดูดเร็วที่สุด
ให้พูดทุก2 ชม
ให้ดูดทั้งสองข้างทุกครั้ง
อาการที่แสดงว่าลูกได้น้ำนมเพียงพอ
ลกูสงบสบาย พักได้ไม่ร้องหิวระหว่างมื้อนม
ได้ยินเสียงกลืนน้ำนมของลูก
มีน้ำนมไหล หรือแม่รู้สึกมีน้ำนมไหลออกมา
อาการที่ต้องระวัง
หลังเกิด3วันปัสสาวะน้อยกว่า6ครั้ง/วัน
เจ็บหัวนมขณะให้ลูกดูดนม
ท่าอุ้มและประคองเต้านม
ท่าที่ 1 Cradle Hold
ท่าที่ 2 Football or Clutch Hold
ท่าที่3 cross cradle Hold
ท่าที่ 4 Side-lying position
C Hold Technique
U Hold Technique
V Hold Technique or
Scissors Hold Technique
การส่งเสริมสุขภาพมารดาหลังคลอด
การประเมินสภาพมารดาระยะหลังคลอด
หลัก 13B
การดูแลความสะอาดและการป้องกันติดเชื้อ
แผลฝีเย็บ โพรงมดลูก ปีกมดลูก ใช้น้ำเปล่าและสบู่ เช็ดจากหน้าไปหลัง ควรล้างมือให้สะอาดก่อนทำ อาบน้ำทุกวันวัลละ2ครั้ง
อาการผิดปกติท่ีควรมารพ.
มีไข้ หนาวสั่น เต้ามนมแดง เจ็บ ตุ่มหนอง เป็นต้น
อาหาร/การพักผ่อน/การขับถ่าย/การออกกำลังกาย
ดื่มน้ำได้ตามปกติ และให้สารน้ำตามแผนการรักษา
พักผ่อนและนอนหลับให้เพียงพอ
ไม่กลั้นปัสสาวะ
ออกกำลังกลายเมื่อ24 ชม หลังคลอด
การให้คำแนะนำมารดา และสังเกตอาการผิดปกติลูก
สังเกตทารกร้องบ่อย นอนมากกว่าตื่น งอแขนขาเมื่อร้อง ดิ้น
การขับถ่าย จำนวนครั้ง ลักษณะ สี กลิ่น
สีผิว
การติดเชื้อ
การสร้างความผูกพันธ์ระหว่างแม่และลูก
มารดาจะค่อยๆสร้างความผูกพันธุ์หว่างแม่และลูกขึ้นรู้สึก สนใจและคุ้นเคยโดยให้ใก้ลชิดกันมากๆ
การพยาบาลมารดาหลังคลอดท่ีมีภาวะเบี่ยงเบนทางสุขภาพ
เจ็บแผลฝีเย็บ
ขมิบกล้ามเน้ือรอบๆช่องคลอด
ท้องผูก,ปัสสาวะลำบาก
กระตุ้นให้มีการขับถ่าย
รับประทานอาหารที่มีกากใย