Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยา ของทารกแรกเกิด - Coggle Diagram
การเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยา ของทารกแรกเกิด
Thermal regulation and thermal adaptation
ทารกแรกเกิดมีโอกาสสูญเสียความร้อนได้ง่ายกว่าในผู้ใหญ่
การเพิ่มความร้อน
ได้จากการสร้างความร้อน (heat production) และการถ่ายเทความร้อนจากสิ่งแวดล้อม heat production ได้มาจากการสลายตัวและการเผาผลาญ glycogen จากตับและกล้ามเนื้อลาย (striated muscle)
การสูญเสียความร้อน (heat loss) เกิดขึ้นตลอดเวลาทางผิวหนังภายหลังคลอด โดยกลไก 4 อย่างคือ
2.1 การนําความร้อน (conduction)
2.2 การพาความร้อน (convection)
2.3 การระเหยของน้ํา (evaporation)
2.4 การแผ่รังสี (radiation)
วัดอุณหภูมิร่างกายทันทีแรกเกิดและวัดตามอาการของทารก แรกเกิดอาจวัดอุณหภูมิด้วยปรอท ทาง rectum เพื่อประเมินเกี่ยวกับรูทวารหนักและอุณหภูมิของร่างกายทารก (core temperature)
จัดเตรียมสภาพสิ่งแวดล้อมภายในห้องคลอด ไม่ควรเย็นจัด และแอร์ไม่ควรเป่าโดนทารกโดยตรง หลังคลอดทันที
4.1 การนําความร้อน (conduction)
4.2 การพาความร้อน (convection)
4.3 การระเหยของน้ํา (evaporation)
4.4 การแผ่รังสี (radiation)
ความผิดปกติของสมดุลของน้ําและการรักษา
การประเมินทางคลินิก
1.1 Mild dehydration ถือว่ามีการขาดน้ําประมาณ 3-5 % ของน้ําหนักตัว ทารกจะมีลักษณะริม ฝีปากแห้ง, ผิวแห้ง , ปัสสาวะเริ่มน้อยลง
1.2 Moderate dehydration มีการขาดน้ําประมาณ 7 -10 % ของน้ําหนักตัว นอกจากทารกจะมี ลักษณะริมฝีปากแและเยื่อบุต่างๆแห้ง ปัสสาวะน้อยลงชัดเจนแล้ว
1.3 Severe dehydration ขาดน้ํา > 10% ของน้ําหนักตัว ทารกจะมี instability of vital signs เช่น ชีพจรเบาและเร็ว ความดันโลหิตลดลง หรืออาจจะมีลักษณะของ shock มีการเปลี่ยนแปลงของระดับ ความรู้สึกตัวโดยทารกมักจะซึมลง (lethargy)
5.การเคลื่อนย้ายทารก การเคลื่อนย้ายควรใช้ Transport incubator ท่ีมีอุณหภูมิตู้ 36 องศาเซลเซียส
สังเกตลักษณะสีผิวของทารก หากทารกมีผิวหนังมีลักษณะเย็น ซีด ปลายมือ ปลายเท้าเขียว
โรคหัวใจพิการแต่กําเนิด (Congenital heart defects)
กลุ่มที่ไม่มีอาการเขียว(Acyanotic)
ก . พวกที่มีเลือดลัดงจรจากซ้ายไปขวา (Left to right shunt) เช่น Ventricular septal Defect (VSD), Atrail Septal Defect (ASD), Patent Ductus Arteriosus (PDA),
ข. พวกมีการตีบแคบ (Cyanotic lesion) เช่น Pulmonary Stenosis (PS), Aortic Stenosis (AS), Coarctation of the aorta
กลุ่มที่มีอาการเขียว (Cyanotic) แบ่งตามปริมาณเลือดที่ไปปอด
ก. พวกที่มีเลือดไปปอดน้อยลง เช่น Tetralogy of fallot (TOF), Pulmonary Ateresia (PA), Tricuspid atresia
ข. พวกที่มีเลือดไปปอดมากขึ้น เช่น Transposition of Great Arteries (TGA), Total Anomalous Pulmonary Venous Connection (TAPVC)
Adaptation of fluid and electrolytes homeostasis
Water Metabolism
ปริมาณน้ําในร่างกายทารกแรกคลอด ปริมาณน้ําทั้งหมด
ในร่างกายทารกมีถึง 75% ของ น้ําหนักตัว
Sodium metabolism
ในส่วนของ sodium metabolism นั้น ทารกคลอดครบกําหนดจะสามารถ
รักษาระดับ ของ sodium ในร่างกายได้ดีกว่าทารกคลอดก่อนกําหนด
Homeostasis
ภาวะปกติการสูญเสียน้ําของทารกมี 2 ทาง
insensible water loss (IWL) เป็นการสูญเสียทางผิวหนังและทางเดินหายใจเป็นส่วนใหญ่ทารกน้ําหนักมากกว่า 2 กก. จะมีค่าประมาณ 1 มล./กก./ชั่วโมง และจะสูงขึ้นถึงประมาณ 3 มล./กก./ชั่วโมง
Renal water loss ไตเด็กขับปัสสาวะที่มี osmolarity ต่ำโดยเฉพาะใน preterm infant ค่า urine osmolarity อาจต่ำถึง 25 mosm/L ในขณะที่ GFR ในทารกยังต่ำกว่าในผู้ใหญ่ทํา ให้ urine flow rate ต่ำกว่า ช่วยให้ทารกไม่เสียน้ํามากเกินไป
ความผิดปกติของสมดุลของน้ําและการรักษา
การประเมินทางคลินิกระดับต่างๆ3ระดับ
1.1 Mild dehydration ถือว่ามีการขาดน้ําประมาณ 3-5 % ของน้ําหนักตัว
1.2 Moderate dehydration มีการขาดน้ําประมาณ 7 -10 % ของน้ําหนักตัว
1.3 Severe dehydration ขาดน้ํา > 10% ของน้ําหนักตัว
Calcium metabolism
ระดับ calcium ในเลือดในทารกแรกคลอดจะต่ำที่สุดใน 24-48 ชั่วโมงหลังคลอด ทารกที่มีโอกาสเกิด hypocalcemia
Energy metabolism
ทารกจะรักษาระดับของ glucose ในเลือดอยู่ที่ 70-80% ของระดับ glucose ใน เลือดของมารดา
Bilirubin metabolism and hyperbilirubinemia
ภาวะ hyperbilirubinemia คือภาวะที่มี bilirubin ในเลือดสูงกว่า 3 mg% โดยปกติระดับ bilirubin สูงขึ้นในเวลา 3 - 4 วัน หลังคลอด
สําหรับ pathological jaundice เกิดจากการสร้าง bilirubin มากขึ้นหรือขับ bilirubin ออกได้น้อยลงหรือทั้งสองอย่าง