Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาความผิดปกติของทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาความผิดปกติของทางเดินหายใจ
การประเมินผู้ใหญ่ในระบบทางเดินหายใจ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางเดินหายใจส่วนล่าง
การดูทรวงอก สังเกตดูสี ความตึงตัว ไขมันใต้ผิวหนัง ดูลักษณะรูปร่างและขนาดของทรวงอก
อกไก่ (Pigeon chest)
อกบุ๋ม (Funnel chest or Pectus excavatum)
อกถัง (Barrel chest)
อกแบนหรือโป่งข้างเดียว (Unilateral flattening)
หลังโก่ง (Kyphosis)
หลังคด (Scoliosis)
ดูแบบแผนการหายใจและอัตราการหายใจ
หายใจลำบาก (Dyspnea)
ปกติหายใจ 14-20 ครั้ง/นาท
การคลำ
การสั่นสะเทือนของเสียงสะท้อน
การคลำหาตำแหน่งที่เจ็บ บริเวณที่ผิดปกติ
การเคลื่อนไหวของทรวงอกและปอดทั้งสองข้าง
การตรวจทางเดินหายใจส่วนบน
การตรวจปากและคอ
การตรวจท่อลม หลอดลมใหญ
การตรวจจมูกและโพรงอากาศ
ลักษณะทั่วไป
ดูนิ้วปุ้ม (Clubbing finger)
ดูภาวะเขียว (Cyanosis)
การเคาะ
เสียงกังวาน (Resonance)
เสียงโปร่ง (Hyper resonance)
เสียงทึบ (Dullness)
เสียงโปร่งมาก (Tympany)
เสียงทึบสนิท (Flatness)
การฟัง
เสียงจากการพูด (Voice sound)
เสียงผิดปกติ(Adventitious sound)
เสียงหายใจ (Breath sound)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษต่างๆ
การตรวจเสมหะ
สีครีม (Creamy) พบใน Staphylococcal infection สีเขียว ติดเชื้อ Pseudomonas
สีสนิมเหล็ก (Rusty) เสมหะเป็นเลือด (Reddish) เช่น วัณโรค มะเร็ง เป็นต้น
หนอง (Pururent) แสดงว่า เชื้อแบคทีเรียใน Bronchiectasis , Lung abscess
ฟองสีชมพู(Frothy) พบใน Pulmonary edema
มูกใส (Mucoid) พบในโรคหวัด หลอดลมอักเสบ
การตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์โดยย้อมสี (Gram’s stain)
ดูรูปร่างลักษณะเชื้อแบคทีเรีย
เหลวใส (Watery) แสดงว่า มีการติดเชื้อไวรัส ใน Pulmonary congestion
การเพาะเชื้อและทดสอบความไวของยา
การส่งเสมหะตรวจเพื่อหาเซลล์มะเร็ง (Cytology)
การตรวจทางโลหิตวิทยา (Hematology)
การตรวจนับเม็ดเลือด (Complete blood count, CBC)
การวิเคราะห์ก๊าซในเลือดแดง (Arterial blood gas analysis)
ระดับก๊าซในเลือดแดง
การวิเคราะห์ก๊าซในเส้นเลือดดำ (Venous blood gas study)
ระดับก๊าซ CO2 ภาวะ
กรด - ด่างร่างกาย
ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดแดง (Oxygen saturation, SpO2)
การตรวจทางรังสี
การตรวจ CT Scan
การตรวจ MRI (Magnetic Resonance Imaging)
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก (Chest x–ray)
การฉีดสีหลอดเลือดแดงในปอด (Pulmonary angiography)
การตรวจระบบทางเดินหายใจทางเวชศาสตร์นิวเคลียร
การส่องกล้อง
การส่องกล้องตรวจหลอดลม
การส่องกล้องในช่องอก (Thoracoscopy)
การตรวจสมรรถภาพปอด (
การเจาะปอด
การตรวจชิ้นเนื้อ (Biopsy)
การซักประวัติ
อาการที่พบบ่อยในระบบทางเดินหายใจ
ไอ ไอเป็นเลือด เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก
หายใจมีเสียงดังผิดปกติ เจ็บคอ มีไข้
อาการหายใจลำบาก (Dyspnea)
แบ่งเป็น 3 ประเภทคือ
ไม่สุดหรือไม่เต็มที่
การหายใจมาก
หายใจไม่อิ่ม
อาการสำคัญและประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน
อาการไอ (Cough)
เริ่มไอเมื่อใด ไอแบบเฉียบพลันหรือไอเรื้อรัง
ช่วงเวลาที่ไอ เช่น ไอเฉพาะตื่นนอนตอนเช้า หรือเมื่ออากาศเปลี่ยนแปลง
การไอแบ่งตามระยะเวลาได้ 3 ชนิด
ไอน้อยกว่า 3 สัปดาห์เป็นแบบเฉียบพลัน (acute)
ไอ 3-8 สัปดาห์เป็นแบบกึ่งเฉียบพลัน (subacute)
ไอแบบเรื้อรังนานเกิน 8 สัปดาห์
(chronic)
ไอเป็นเลือด (Hemoptysis)
การไอร่วมกับเลือดออกในทางเดินหายใจส่วนล่างตั้งแต่สายเสียงลงไป
ปริมาณเลือดที่ออกเป็น 3 ประเภท
ออกเล็กน้อย เป็นเส้น (blood streaking)
ออกชัดเจน
(frank or gross hemoptysis)
ะออกมาก (massive hemoptysis)
อาการเจ็บหน้าอก (Chest Pain)
ภายนอก (somatic chest pain)
จากอวัยวะภายใน (visceral chest pain)
การซักประวัติให้ถามรายละเอียด
เจ็บทันทีทันใดพบในลิ่มเลือดอุดตัน
เจ็บเวลาใด เช้า กลางวัน เย็น หรือตอนกลางคืน
ตำแหน่งที่เจ็บหน้าอก อาการปวดร้าว
ความรุนแรงประเมินด้วย
Pain Scale
หายใจมีเสียงผิดปกติ (Abnormal sound during breathing)
เสียงวิ้ด (wheeze) ลักษณะเสียงแหลมหรือความถี่สูง มีระดับเดียวหรือหลายระดับก็ได้
เสียงกรน (snoring) เสียงความถี่ต่ำและค่อนข้างหยาบ
Stridor เป็น monophonic wheezing ที่มีความถี่สูง เกิดจากการอุดกั้นของทางเดินหายใจขนาดใหญ
ประวัติเจ็บป่วยในอดีต
อประวัติโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ
ประวัติการบาดเจ็บ การผ่าตัดบริเวณทรวงอก
ประวัติความเจ็บป่วยเรื้อรังและการรักษา
ประวัติส่วนตัว
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
ความผิดปกติในทางเดินหายใจส่วนล่าง
Pneumonia,
ปอดอักเสบหรือปอดบวม เป็นกระบวนการอักเสบของหลอดลมฝอย (bronchiole) และถุงลมปอด (alveoli)
ไข้สูงทันทีทันใด หนาวสั่น (โดยเฉพาะในระยะที่เริ่มเป็น) อ่อนเพลีย หายใจหอบ
Lung abscess
Bronchitis
การอักเสบของเยื่อบุผิวภายในหลอดลมทําให้ต่อมเมือก
การติดเชื้อส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย
ไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ไอบ่อย ระยะแรกจะไอแห้งๆ ต่อมาเสมหะมีปริมาณมากขึ้น
Bronchiectasis
เกิดจากเนื้อเยื่อหรือกล้ามเนื้อเรียบบริเวณผนังหลอดลมที่ทำหน้าที่ควบคุมการหดตัวของหลอดลมเสียหาย
โรคซิสติกไฟโบรซิส ซึ่งเป็นความผิดปกติทางพันธุกรรม
ไอเรื้อรัง ไอมีเสมหะมาก อาจมีสีใส สีเหลือง สีเขียว ไอเป็นเลือด
Atelectasis
เป็นภาวะถุงลมในปอดขยายตัวได้ไม่เต็มท
หายใจหอบเหนื่อย หัวใจเต้นเร็ว ไอ มีเหงื่อออกมาก ปากเขียวหรือตัว
เขียว ไข้ เจ็บหน้าอก
COPD
กลุ่มโรคที่เกี่ยวข้องกับการอุดกั้นทางเดินหายใจหรือเนื้อปอด
ไม่มีอาการ หากเป็นมากขึ้นอาจเหนื่อยหอบเมื่อออกแรง ไอเรื้อรัง ไอมีเสมหะ มากตอนเช้า
Asthma
โรคที่เกิดจากการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม
Pulmonary tumor
เกิดขึ้นอาจเกิดขึ้นที่ปอดโดยตรง (Primary tumor) หรือแพร่กระจาย (Metastasis)
Lung Tuberculosis
วัณโรคเกิดได้ในทุกอวัยวะ ส่วนใหญ่เกิดที่ปอด
ไอเรื้อรังเกิน 2 สัปดาห์ ไอแห้งๆหรือมีเสมหะสีเหลือง เขียวหรือไอปนเลือด
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด มีไข้ต่ำๆ ตอนบ่ายหรือเย็น เจ็บแน่นหน้าอก เหนื่อยหอบ อ่อนเพลีย
Empyema
ไข้ หอบเหนื่อย เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย เจ็บหน้าอกเฉพาะเวลาหายใจเข้าสุดหรือไอ
ภาวะที่มีหนองสะสมอยู่ในช่องเยื่อหุ้มปอด
ความผิดปกติของการไหลเวียนเลือดในปอด
Pulmonary hypertension
ภาวะความดันหลอดเลือดปอดสูง
เกิดจากความไม่สมดุลของสารเคมีที่มีผลต่อ
การหดและขยายตัวของหลอดเลือดรวมถึงความผิดปกติของ K channel
Pulmonary embolism
ภาวะที่มีลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดแดงปอดและแขนง
ภาวะลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดปอดหากมีผลให้การไหลเวียนไม่คงท
ความผิดปกติในทางเดินหายใจส่วนบน
Nasal polyps
เป็นภาวะที่มีเนื้องอกของเยื่อบุจมูกและโพรงอากาศข้างจมูก
คัน จาม คัดจมูก น้ำมูกไหลเรื้อรัง เมื่ออาการมากขึ้นจะพบอาการคัดจมูก ไอ ระคายคอ
Sinusitis
เกิดหลังการติดเชื้อในทางเดินหายใจหรือภูมิแพ
ปวด กดเจ็บบริเวณโพรงอากาศข้างจมูก มักเป็นในช่วงเวลาตื่นนอนตอนเช้า คือ คัดจมูก
Nasal bleeding
ภาวะที่มีเลือดออกทางจมูกจากการฉีกขาดของหลอดเลือดฝอยในเยื่อบุช่องจมูก
การบาดเจ็บ สิ่งแปลกปลอม การติดเชื้อ ความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือด
Tonsillitis
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย กลุ่ม Beta–hemolytic streptococcus, Staphylococcus
เจ็บคอมาก กลืนลำบาก ไข้สูงมากกว่า 38.3 องศาเซลเซียส
Pharyngitis
เป็นการอักเสบของเนื้อเยื่อในลำคอที่อยู่บริเวณหลังช่องปาก
คออักเสบจากเชื้อไวรัสใช้เวลาฟักตัว 1-3 วัน
ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บคอเล็กน้อยถึงปานกลาง
คออักเสบจากเชื้อแบคทีเรียใช้เวลาฟักตัว 2-5 วัน
ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บคอมากจนกลืนน้ำและ
อาหารลำบาก
Common cold
จะเกิดจากเชื้อไวรัสหวัดชนิดใหม่หมุนเวียนกันไป
ผู้ป่วยจะจาม คันจมูก น้ำมูกไหลหรือไหลลงคอ คัดจมูก คันเพดานปาก
หรือคอ เมื่อมีสิ่งกระตุ้น
โรคอุบัติใหม่: โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)
เป็นไวรัสที่สามารถติดเชื้อได้ทั้ง
ในมนุษย์และสัตว
ทางเดินหายใจ ไอ และมีไข้ โดยในบางรายที่มีอาการรุนแรง บางรายเสียชีวิตได
รคล้ายไข้หวัด โดยจะแสดงอาการในทางเดินหายใจ
คัด
จมูก เจ็บคอ เช่น มีไข้ ไอ มีน้ำมูก
สามารถติดเชื้อได้ทั้ง
ในมนุษย์และสัตว์