Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของมารดาหลังคลอด, Bottom Vagina Outlet ฝีเย็บ…
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของมารดาหลังคลอด
1.ทันทีหลังคลอด (Puerperium immediate) 24 hr. หลังคลอด
1.1 น้ำหนักมดลูกลดลงทันที ประมาณ 1000 g. อยู่ระดับสะดือ
ถ้าสูกว่าสะดือ : bladder full,blood clot,sepsis ในโพรงมดลูก
1.2 มดลูกหดรัดตัว สม่ำเสมอและแรง 12 hr. แรก
1.3 Lochia Rubra 1-3 วัน > สีแดงสด > เลือด เยื่อเมือก > เยื่อมดลูก > ชุ่มผ้าอนามัย 80 cc.
1.4 น้ำนมช่วงแรก 1-2 คือ Colostrum
1.5หลังหลอด 24 hr. อุณหภูมิจะสูงขึ้นแต่ไม่ขึ้นเกิน 38 องศา (Reaction ary fever)
ถ้าเกิน 24 hr. มักติดเชื้อ
1.6 ชีพจรช้าลง 60-70 bpm/40-50 bpm
กลับสู่ปกติ 7-10 วันหลังคลอด
1.7 ความดันไม่เกิน 130/90 mmHg
ถ้าเกิน : Pre - eclampsia
1.8 หายใจ 16-24 bpm
1 more item...
Protein เกลือแร่ IgA ป้องกันโรค,ขับขี้เทา
ไม่ควรเป็นลิ่ม หรือก้อนเลือด
2.หลังคลอดตอนต้น (Puerperium early)
วันที่ 2-7 วันหลังคลอด
2.1
-2 วันหลังคลอด มดลูกมีการหดตัวและลดขนาดลงวันละ 1/2 นิ้ว - 1 นิ้ว
2.2
ความปวด แรงถี่ลดลงจากวันแรก
-ปวดมดลูก 2-3 หลังคลอดมากขึ้นเมื่อลูกดูดนม
2.3
-น้ำคาวปลา 4-5 วันหลังคลอด > สีน้ำตาลอ่อน >ชมพู(เลือดจาง) >น้อยลง
2.4
อาจเกิดริดสีดวงทวาร เพราะBowel movement ลดลง ลำไส้ถูกเบียด
3.หลังคลอดระยะปลาย Puerperium late
ระยะ 2- 6 วีคหลังคลอด
3.1 มดลูกมีน้ำหนักเท่าก่อนตั้งครรภ์ ขนาด3x2x1 cm ( สิ้นสุดกระบวนการลดขยายของมดลูกหลังคลอด )
3.2 Lochia Alba 11-15 > สีขาวครีม หรือสีเหลืองจางๆ จากน้อยมากและค่อยๆ หายไป
การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ข้อดีของน้ำนมมารดา
สารอาหารครบ, ประหยัดค่าใช้จ่าย, มี Protein และเกลือแร่สูง, มี IgA ภูมิต้านทานป้องกันโรค, และสร้าง Bonding attachment
อาการที่ลูกแสดงว่าได้รับน้ำนมเพียงพอในวีคแรกหลังคลอด
-ปัสสาวะ 6 ครั้งขึ้นไปใน 24 ชั่วโมง
-อุจจาระ 4-8 ครั้งใน 24 ชั่วโมง
-ลูกนอนสงบ ไม่ร้องหิวระหว่างมื้อ
-ได้ยินเสียงกลืนนม
-เต้านมแม่นิ่มลงหลังจากลูกกินนม
-มีน้ำนมไหลสม่ำเสมอ
ข้อควรระวัง
-ปัสสาวะออกน้อยหลังคลอด 3 วัน
-หลังเกิด 3 วัน ไม่มีขี้เทา
-ดูดนมน้อยกว่า 8 มื้อต่อวัน
-ร้องหิวตลอด กระวนกระวาย
-หลับนานเกิน 4-6 ชั่วโมง
-ไม่ได้ยินเสียงกลืนนม
-เจ็บหัวนม หัวนมแตก
การเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคม
การปรับตัวของมารดามี 3 ระยะ
1.ระยะที่มีพฤติกรรมพึ่งพา 1-2 วันหลังคลอด : ต้องการพึ่งพาผู้อื่น สนใจแต่ความสุขสบาย และความต้องการของตนเอง ยอมรับความช่วยเหลือ
2.ระยะพึ่งพาและไม่พึ่งพา ใช้เวลา 3-10 : มารดามีประสบการณ์มากขึ้น มีการปรับตัวกับชีวิตใหม่ ได้พักผ่อน สนใจตัวเองน้อยลง สนใจบูกมากขึ้น รับฟังคำแนะนำ
3.ถ้ามารดา ทำไม่ได้และมีแรงกดดันมารดา จะมีความวิตกกังวลอาจมีอาการอ่อนเพลียเหนื่อยล้าตามมา
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
พบในระยะ 3-4 วันแรกหลังคลอด
อาการ : นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน
สาเหตุ : Hormone ลดลงต่ำมากใน 3-5 วันแรกหลัวคลอด
ความรู้สึกของมารดา
-สูญเสียความสำคัญโดยเฉพาะกับสามี
-ไม่มั่นใจในทำหน้าที่มารดา
-ภาพลักษณ์เปลี่ยนไป ไม่มั่นใจ
การพยาบาล
เป็นภาวะที่ไม่จำเป็นต้องรักษา หายเองได้ แต่ต้องประคับประคองความสุขสบายด้านร่างกาย จิตใจ
ให้ข้อมูลในการดูแลบุตร / ให้ความช่วยเหลือในการดูแลบุตร
-สามีและคนในครอบครัวให้กำลังใจ อยู่เป็นเพื่อน ไม่ทอดทิ้ง
การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจ
ระยะอิสระ
-เกิดหลังจากวันที่10 ของการคลอด
-มีปฏิสัมพันธ์กับสังคมโดยส่วนลึกของจิตใจยังห่วงใยบุตร
การพยาบาล
ประคับประคองความรู้สึกของมารดา ให้คำปรึกษา ช่วยมารดารู้สึกปลอดภัยและอบอุ่นในการเข้าสังคมและแสดงบทบาทมารดาอย่างเหมาะสม
Bottom Vagina Outlet
ฝีเย็บ อวัยวะสืบพันธ์ุภายนอก
การเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก