Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองคร์วม มารดาในระยะหลังคลอดปกติ - Coggle Diagram
การพยาบาลแบบองคร์วม
มารดาในระยะหลังคลอดปกติ
การส่งเสริมสุขภาพมารดาหลังคลอด
อาหาร/การพักผ่อน/การขับถ่าย/การออกกำลังกาย
อาหาร
ควรรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ได้พลังงาน 2,600-2,800 แคลอรี่ต่อวัน อาหารที่ช่วยกระตุ้นน้ำนม ผักรสขม แกงเลียง และดื่มน้ำให้เพียงพอตามปกติ
การพักผ่อน
ควรได้มีการพักผ่อนและนอนหลับให้เพียงพอ นอกจากเป็นการผ่อนคลายความตึงเครียดจากการคลอดแล้วยังช่วยให้การสร้างน้ำนมเป็นไปด้วยดี
การทำงานที่ออกแรงจนรู้สึกเหนื่อย
ไม่ยกของที่มีน้ำหนักเกิน 5 กิโลกรัม
ควรกลับไปทำงานตามปกติหลังคลอด 3 เดือน
การขับถ่าย
ไม่กลั้นปัสสาวะ ควรถ่ายปัสสาวะครั้งแรกภายใน 6-8 ชั่วโมงหลัง
คลอดรก บางรายไม่กล้าเบ่ง ไม่ต้องกลัวแผลแยก
การถ่ายอุจจาระ เมื่อได้พักและไดัรับประทานอาหาร
มักจะถ่ายได้ประมาณวันที่ 2-3 หลังคลอด
การออกกำลังกาย
หลังคลอดภายใน 7 วันใช้ท่าบริการการหายใจ บริหารช่องอก
กล้ามคอ หลัง ไหล่ส่วนบริเวณฝีเย็บ ช่องท้องและเชิงกราน
ท่าที่ 1 นอนหงายราบไม่หนุนหมอน แขนเหยียดตรงตามลำตัว สูดลมหายใจเข้าเต็มท่ีพร้อมทั้งเบ่งท้องให้โป่งตึง แล้วค่อยๆ ผ่อนลมหายใจออก พร้อมทั้งแขม่วท้อง ท่านี้ช่วยลดหน้าท้อง
ท่าท่ี 2 นอนหงายไม่หนุนหมอนแขนเหยียดตรงตามลาตัวยกศีรษะขึ้นให้คางจรดหน้าอกแล้ววางศีรษะลงทาเช่นนี้โดยไม่ขยับส่วนอื่นของร่างกาย
ท่าที่ 3 นอนหงายราบไม่หนุนหมอน นอนหงายกางแขนออกให้ตั้งฉากกับลำตัวยกแขนขึ้นจนฝ่ามือแตะกับแขนเหยียดตรงพักไว้สักครู่จึงลดแขนลงไว้ข้าง ลำตัว ท่านี้จะช่วยบริหารทรวจอก
ท่าท่ี 4 นอนหงายราบไม่หนุนหมอนแขนเหยียดตรงลำตัวงอขาขวาขึ้นให้ส้นเท้าสัมผัสกับก้นในขณะท่ีขาซ้ายเหยียดตรงแล้วเหยียดขาขวาลงอขาซ้ายขึ้น
ท่านี้จะช่วยบรหิารร่างกายบริเวณกล้ามเนื้อสะโพกและช่วยลดหน้าท้อง
ท่าท่ี 5 นอนหงายไม่หนุนหมอนแขนเหยียดตรงตามลำตัว
กระดกเท้าให้น่องและต้นขาเกร็จสักครู่กดเท้าลงสักครู่แล้วผ่อนคลาย
ท่าท่ี 6 นอนหงายไม่หนุนหมอนชันขาทั้ง 2 ข้าง ขึ้นให้เข่า
ชิดกันเท้าห่างกันพอควรยกสะโพกขึ้นละเกร็งเนื้อสะโพก
ท่าท่ี 7 นอนคว่ำใช้หมอนรองบริเวณหน้าท้อง
2 ใบวางแขนข้างลำตัว หันหน้าไปด้านใดด้านหนึ่งนอนนานประมาณ 30นาที
การดูแลความสะอาดและการป้องกันการติดเชื้อ
การติดเชื้อท่ีแผลฝีเย็บและโพรงมดลกูและปีกมดลูกใช้น้ำเปล่าและสบู่ทำความสะอาดได้ การเช็ด จากหน้าไปหลัง
อาการผิดปกติท่ีควรมารพ.ก่อนวันนัด
มีไข้ หนาวสั่น
เต้านมแดงเจ็บ เป็นตุ่มหนอง
ปวดมดลูกมากกว่าตอนอยู่โรงพยาบาล/ปวดท้องน้อยใดข้างหน่ึง
แผลบวม เจ็บตึง มีเลือด/หนองไหลจากแผล
น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็นออกมากกว่า วันละ 4 ผืน ชุ่มผ้าอนามัย
ปัสสาวะแสบขัด /มีกลิ่น/ปัสสาวะขุ่น
ถ่ายอุจจาระลำบาก
นอนไม่หลับ โดยไม่ทราบสาเหตุ
การมาตรวจตามนัด แพทย์นัดมาตรวจ 2 ครั้ง
การนัดหลังคลอด 7 วันเพื่อติดตามแผลจากการคลอดและอาการอื่นๆ
การนัดหลังคลอด 6 สัปดาห์เพื่อติดตามมดลูกเข้าอู่คืนสภาพตามปกติ
การตรวจหาชิ้นเน้ือของมะเร็งปากมดลูก และเลือกชนิดการวางแผน ครอบครัว
การคุมกำเนิดหลังคลอดควรเริ่ม ประมาณ 4 สัปดาห์หลังคลอด
การมีเพศสัมพันธ์หลังคลอด
งดการมีเพศสัมพันธ์ (SEXUALINTERCOURSE) 4-6 สัปดาห์
การให้คำแนะนำมารดาเรื่องการเลี้ยงลูกและสังเกตอาการผิดปกติของลูก
สังเกตทารกร้องบ่อย /นอนมากกว่าตื่น การงอแขนขาเมื่อร้อง/ดิ้น
การขับถ่ายอุจจาระ จำนวนคร้ังต่อวันลักษณะเหลว สีเปลี่ยนแปลงจากขี้เทาเป็นสีเหลืองทอง/สีเหลืองปกติ
การปัสสาวะจำนวนคร้ังต่อวันสีเหลืองเข้ม/จาง
สีผิว ใบหน้า แขนขา ลำตัวอาจจะเป็นสีเหลืองจากภาวะเหลืองในทารกแรกเกิด
การติดเชื้อที่ ตา สะดือ บริเวณที่ฉีดวัคซีนระบบทางเดินหายใจ ท้องเสีย ผื่นแพ้ ตามตัว
ทารกเพศหญิงบางรายอาจมีตกขาว/เลือดออกเล็กน้อยทางช่องคลอด
การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาทารกหลังคลอดและครอบครัว
การปรับตัวของมารดามี 3 ระยะ
ระยะที่มีพฤติกรรมพึ่งพา (Taking-in Phase)
ระยะพฤติกรรมระหว่างพึ่งพาและไม่พึ่งพา (Taking-Hold Phase)
ระยะอิสระ (Interdependent phase หรือ Letting go phase)
BONDING & ATTACHMENT
การสร้างความผูกพันระหว่างแม่และลูก
มารดาจะค่อยๆสร้างความผูกพันระหว่างแม่และลูก
ขึ้นรู้สึกสนใจและคุ้นเคยโดยให้ใกล้ชิดกันมากๆ
การพยาบาลมารดาหลังคลอดท่ีมีภาวะเบี่ยงเบนทางสุขภาพ
นอนพักน้ำดื่มและสารน้ำตามแผนการรักษาแพทย์
อาการปวดมดลูกมากกว่าปกติอาการปวดมดลูกเกิดจากการหดตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อมดลูก จะไม่เกิน 72 ชั่วโมง
เจ็บแผลฝีเย็บ, ริดสีดวงทวารอักเสบ
การติดเชื้อจะมีอาการปวด บวม แดง ร้อน มารดาควรกลับไปพบแพทย์ และควรรักษาความสะอาดให้ถูกวิธีแช่กันในน้ำอุ่นหรือรับประทานยาเพื่อบรรเทาอาการปวด
ท้องผูก,ปัสสาวะลำบาก
หลังคลอด 8 ชั่วโมง มารดาควรถ่ายปัสสาวะได้เอง
ปัสสาวะลำบากใน 1-2 วันแรกหลังคลอดเนื่องจากความตึงตัวของ กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะไม่มีกำลังหรือยืดมากเกินไป ทำให้ปัสสาวะคั่งหรือถ่ายลำบาก พยาบาลต้องกระตุ้นให้ปัสสาวะ ถ้ากระตุ้นแล้วยังถ่ายเอง ไม่ได้พิจารณาสวนปัสสาวะให้