Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองค์รวมในการสร้างเสริม ป้องกัน และฟื้นฟูสภาพมารดาในระยะหลังคลอ…
การพยาบาลแบบองค์รวมในการสร้างเสริม ป้องกัน และฟื้นฟูสภาพมารดาในระยะหลังคลอดปกติ
5.5 การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาทารก หลังคลอดและครอบครัว
NUTRITION ระยะหลังคลอดความต้องการอาหารของร่างกายจะมีมากกว่าธรรมดาเนื่องจากมีการเสียเลือดและพลังงานไปในขณะคลอดและไม่ได้รับประทาน อาหารเป็นเวลานานในช่วงนั้น
อาหาร
การรับประทานอาหาร ควรรับประทานอาหารที่มีคุณค่าเพื่อส่งเสริมให้ร่างกายแข็งแรง และผลิตน้ำนมได้เพียงพอ เช่น อาหารพวกเนื้อสัตว์ต่างๆ ถั่ว ไข่ นมสด ผัก และผลไม้ทุกชนิด
ดื่มน้ำอย่างน้อย วันละ 6-8 แก้ว อาหารที่ควรงดได้แก่ อาหารรสจัดของหมักดอง น้ำชา กาแฟ เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอร์เนื่องจากสามารถผ่านทางน้ำนมได้
ควรได้อาหารครบทั้ง๕ หมู่และให้ได้พลังงาน ประมาณ 2,600-2,800แคลอรี่ต่อวัน
อาหารที่ช่วยกระตุ้นน้านม ผักรสขม แกงเลียง
การพักผ่อน
ควรพักผ่อนมากๆใน 2 สัปดาห์แรกโดยในตอนกลางวันควรพักผ่อนประมาณ 1-2 ช่วโมงหรือพักผ่อนในช่วงที่ทารกหลับ ส่วนในตอนกลางคืนควรพักผ่อนอย่างน้อย 8-10 ชั่วโมง
มารดาหลังคลอดงดการทำงานที่ออกแรงจนรู้สึกเหนื่อย
ไม่ยกของที่มีน้าหนักเกิน5กิโลกรัม
ควรกลับไปทำงานตามปกติหลังคลอด 3เดือน
สามารถบีบเก็บน้้านมวางแผนการให้มีการหลั่งน้้านมต่อเนื่องได้ตลอดมากกว่า6 เดือน
ควรได้มีการพักผ่อนและนอนหลับให้เพียงพอนอกจากเป็นการผ่อนคลายความตึงเครียดจากการคลอดแล้วยังช่วยให้การสร้างน้้านมเป็นไปด้วยดีการทางานหลังคลอด
การขับถ่าย
ไม่กลั้นปัสสาวะ ควรถ่ายปัสสาวะครั้งแรกภายใน 6-8ชั่วโมง หลังคลอดรก
การถ่ายอุจจาระ เมื่อได้พักและได้รับประทานอาหาร มักจะถ่ายได้ ประมาณวันที่ 2-3หลังคลอด
การออกกำลังกาย
ท่าที่ 1 ฝึกการหายใจ และบริหารปอด
ท่าที่ 2 บริหารไหล่ และแขน
ท่าที่ 3 การบริหารคอและกล้ามเนื้อบริเวณศีรษะเพื่อลดความเครียด
ท่าที่ 4 ท่าบริหารเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหน้าท้อง กล้ามเนื้อ ก้นย้อย กล้ามเนื้อบริเวณฝีเย็บเพื่อให้มดลูกเข้าอู่เร็ว และลดอาการปวดหลัง
ท่าที่ 5 การบริหารกล้ามเนื้อน่อง และข้อเท้า
ท่าที่ 6 บริหารกล้ามเนื้อหน้าท้องและอุ้งเชิงกรานพร้อมกัน
ท่าที่ 7 การบริหารเพื่อให้กล้ามเนื้อหน้าอกแข็งแรง และเต้านมไม่หย่อนยาน มี 2 ท่า
5.1 การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของมารดาหลังคลอด
การสิ้นสุดของการไหลเวียนเลือดระหว่างมดลูกกับรก
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยามารดาในระยะหลังคลอดมี 3 ประการคือ
ระยะหลังคลอดคือระยะ หลังคลอดรกจนถึงระยะ 6-8 สัปดาห์หลังคลอด
การสิ้นสุดของการผลิตฮอร์โมนจากรก ซึ่งเป็นการหยุดการกระตุ้นให้หลอดเลือดขยาย
3.มีการเคลื่อนย้ายของน้ำนอกเส้นเลือดที่สะสมระหว่างการตั้งครรภ์กลับเข้าเส้นเลือดทำให้น้ำในเซลล์มีปริมาณมากขึ้น
การแบ่งระยะหลังคลอดได้เป็น 3 ระยะ
ทันทีหลังคลอด (puerperiumimmediate) ระยะ 24 ชั่วโมงหลังคลอด
หลังคลอดระยะต้น (puerperiumearly) วันที่ 2-7วัน
หลังคลอดระยะปลาย (puerperiumlate) ระยะ 2-6สัปดาห์หลังคลอด
ระยะหลังคลอดปกติ (Puerperium)
เป็นช่วงที่เยื่อหุ้มรกคลอดเสร็จเรียบร้อยและเป็นช่วงที่อวัยวะสืบพันธุ์กลับสู่สภาพเดิมเหมือนก่อนตั้งครรภ์เวลา6-8 สัปดาห์ มีอาการดังนี้
สั่นเทาคล้ายเป็นไข้เล็กน้อย( slightly shivering )
กล้ามเนื้อสั่น ( muscular tremor)
ฟันกระทบกัน (Chattering of teeth)
การแบ่งระยะหลังคลอด Involution ขบวนการที่หนทางคลอด มีการเปลี่ยนแปลงเพื่อกลับคืนสู่สภาพปกติเหมือนก่อนตั้งครรภ์
Background
ประวัติการคั้งครรภ์
ครรภ์ที่
การคลอด
วิธีคลอด
หัตถการที่เกิดในระหว่างการคลอดที่ปกติหรืออันตราย
มดลูกอยู่ระดับระหว่างสะดือกับ Public Symphysis
ต่อมาลดลง ½ -1 / day 10 –12 วันจะคลำไม่พบ
มดลูก(Uterus)
สรีระวิทยา ระยะหลังคลอด
Involution ขบวนการที่หนทางคลอด มีการเปลี่ยนแปลงเพื่อกลับคืนสู่สภาพปกติเหมือนก่อนตั้งครรภ์
ภาวะขาดเลือด Uterus หดรัดตัวเส้นเลือดใน Myometriumถูกบีบ ทำให้ขาดเลือดไปเลี้ยงชั่วคราว มดลูกซีด (Ischemic)
มีการสลาย Cytoplasm ของ Protein ใน Cell (Autolysis) ทำให้ Cell มีขนาดเล็กลงแผลรกเกาะจะมีขนาดประมาณ 1 ฝ่ามือ
ขนาดของมดลูก
น้ำหนักของมดลูกเมื่อไม่ตั้งครรภ์หนักประมาณ50 -100 g.
น้ำหนักของมดลูกหลังคลอดทันทีหนักประมาณ 1000 g. อยู่ระดับสะดือ
ใน 1ชั่วโมงต่อมามดลูกจะลอยตัวสูงขึ้นมาอยู่ระดับสะดือ
2 วันหลังคลอดมดลูกจะหดรัดตัวและลดขนาดลงวันละ½ -1 นิ้วหรือประมาณ1 fingerbreadth (FB)
7 วันหลังคลอดระดับมดลูกจะอยู่กึ่งกลางระหว่างหัวเหน่ากับสะดือหรือประมาณ 3 นิ้ว
2 สัปดาห์หลังคลอดระดับมดลูกจะอยู่ที่ระดับหัวเหน่า
6 สัปดาห์หลังคลอดมดลูกจะมีน้้าหนักเท่ากับระยะก่อนตั้งครรภ์คือประมาณ 50 กรัม ขนาด 3 x 2 x 1 ซม.
วัดดความสูงของมดลูกทุกวัน
1.กล้ามเนื้อหน้าท้องหย่อน
2.กระเพาะปัสสาวะว่าง
3.ควรวัดเวลาเดียวกันทุกวัน
4.หน่วยการวัดซม.หรือนิ้ว
ประจำเดือน (Menstruation) Follicle Stimulating Hormone จะลดลงใน 10-12 วันจะเพิ่มขึ้นประมาณสัปดาห์ที่ 3 หลังคลอด Breast feeding เลื่อนประจำเดือนและการตกไข่จะตกไข่ประมาน 6เดือนเร็วประมาณ 3 เดือน
สังเกตน้ำคาวปลาทุกวันจากผ้าอนามั
ย
LochiaRubra1-3 วันหลังคลอด จะเห็นเป็นสีแดงและไม่เป็นก้อน หรือ ไม่เป็นลิ่มเลือด:เลือด เยื่อเมือก เยื่อบุมดลูก
LochiaSerosa4-10 วัน หลังคลอดจะเห็นเป็นสีน้ำตาลอ่อนหรือสีชมพู มีจำนวนน้อยลง
3.LochiaAlba 11-15 วัน มีสีขาว (Cream) หรือเหลืองจางๆจนค่อยๆหมดไป
รอยฉีกขาดของฝีเย็บ
First degree ฉีกขาดของผิวหนังบริเวณฝี เย็บ และเยื่อบุช่องคลอด
Second degree การฉีกขาดของ fascia และชั้นกล้ามเนื้อ
Third degree การฉีกขาดของรูหูรูดของทวารหนัก
Fourth degree การฉีกขาดถึงบริเวณทวารหนัก (rectum)หรือเยื่อบุลำไส้ใหญ่ส่วนล่างหรือท่อปัสสาวะ
5.2 การปรับตัวด้านจิตสังคมและบทบาทการเป็นมารดาหลังคลอด
Postpartum blue ช่วง 2-3 วัน จะวิตกกังวล สับสน เกี่ยวกับ ตนเอง ลูก การแสดงออก อาจมีอาการ นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร ร้องไห้ง่าย
ตื่นเต้น กลัวการตั้งครรภ์ การคลอด
ร่างกายเปลี่ยนแปลง ที่ก่อให้เกิดความไม่สุขสบาย
อ่อนเพลียจากการคลอด
กังวลเกี่ยวกับการเลี้ยงดูลูก
กลัวการรักษา
การปรับตัวของมารดามี 3 ระยะ
ระยะที่มีพฤติกรรมพึ่งพา (Taking-in Phase)
ใช้เวลา1-2 วัน เป็ นระยะที่มารดาหลังคลอด จะมุ่งความสนใจไปที่ตนเองและต้องการพึ่งพาผู้อื่นสูงสนใจแต่ความต้องการและความสุขสบายของตนเองมากกว่าที่จะนึกถึงบุตรพฤติกรรมของมารดาอาจเฉื่อยชาไม่ค่อยเคลื่อนไหวยอมรับการช่วยเหลือที่สนองความต้องการด้านร่างกายและจิตใจ
ระยะพฤติกรรมระหว่างพึ่งพาและไม่พึ่งพา (Taking-Hold Phase)
ใช้เวลาประมาณ3-10 วันมารดามีประสบการณ์มากขึ้นมีการปรับตัวกับชีวิตใหม่ได้พักผ่อนเพียงพอและฟื้นจากการสูญเสียพลังงานในระยะคลอดมารดาจะค่อยๆแข็งแรงขึ้นรู้สึกสบายพร้อมที่จะปรับวิถีชีวิตของตนเองสนในตนเองน้อยลงและสนใจบุตรมากขึ้นมารดาจะพึ่งพาตนเองมากขึ้น
ระยะพฤติกรรมระหว่างพึ่งพาและไม่พึ่งพา (Taking-Hold Phase)
ถ้ามารดาทำไม่ได้และมีแรงกดดันมารดาจะมีความวิตกกังวลอาจมีอาการอ่อนเพลียเหนื่อยล้าตามมา
การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตสังคม (RevaRubin)
ภาวะอารมณ์เศร้าหลังคลอด(Postpartum blue)
เกิดจากการที่ยังปรับตัวหลังคลอดไม่ค่อยได้ มีความกังวลเรื่องลูก โดยทั่วไปมักมีอาการอยู่ในช่วงสัปดาห์แรก และสามารถหายได้เองโดยไม่ต้องรักษา
ภาวะซึมเศร้าภายหลังคลอด (Postpartum Depression)
มีอาการนอนไม่หลับ เบื่ออาหาร ร้องไห้บ่อย อ่อนไหวง่าย บางครั้งหงุดหงิด ความผูกพันกับลูกหายไป บางครั้งผุดภาพอยากทำร้ายตัวเอง หรือทำร้ายลูก ระยะอาการนี้มีตั้งแต่ 2 สัปดาห์ไปจนถึงหลายเดือน และจะต้องได้รับการรักษาที่ถูกต้อง ไม่สามารถหายเองได้
โรคจิตหลังคลอด (Postpartum psychosis)
มักเกิดในช่วงหลังคลอด 1-4 วัน โดยผู้ป่วยมักมีอาการฉุนเฉียว ร้องไห้ง่าย คึกคัก คล้ายอาการของโรคไบโพลาร์ หูแว่ว ประสาทหลอน บางครั้งก็ได้ยินเสียงสั่งให้ฆ่าลูกมีอาการหวาดกลัวมาก นอนไม่ได้ น้ำหนักลดลงมาก ต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล เพราะไม่สามารถหายเองได้
Bonding & attachment
มารดาจะค่อยๆสร้างความผูกพันระหว่างแม่และลูกขึ้นรู้สึกหลงรักและคุ้นเคยโดยให้ไกล้ชิดกันมากๆ
5.3 การส่งเสริมการเลี้ยงดูลูกด้วยนมแม่
ปัญหาที่พบบ่อยและวิธีการแก้ไข
1.น้ำนมมารดามีน้อย น้ำนมไม่พอ
2.น้ำนมมารดามีมาก
3.เต้านมคัดตึง
4.หัวนมมีความผิดปกติ
ข้อดีของน้ำนมมารดา
ประหยัด
สะดวก สะอาด และปลอดภัย
มีภูมิต้านทานต่อโรคติดเชื้อ
ด้านจิตใจ เป็นการช่วยสร้าง Bonding Attachment
สารอาหารครบถ้วน
สง
vitamin
Protein
Immunoglobulin A (IgA)
การประคองเต้านม (Breast Holding Technique)
C Hold Technique
U Hold Technique
V Hold Technique or Scissors Hold Technique
อาการที่แสดงว่าลูกได้รับน้ำนมแม่เพียงพอในสัปดาห์แรกๆหลังคลอด
ลูกปัสสาวะ 6 ครั้ง ขึ้นไปใน 24 ชั่วโมง
ลูกอุจจาระ 4 –8 ครั้งใน 24 ชั่วโมง
มีอาการที่แสดงว่าแม่มีน้ำนม ลูกได้รับน้ำนม
น้ำหนักลูกขึ้นโดยเฉลี่ย 18 –30 กรัมต่อวัน
ลูกสงบสบาย พักได้ไม่ร้องหิว ระหว่างมื้อนม
ได้ยินเสียงกลืนน้ำนมของลูก
เต้านมแม่ตึงก่อนให้นมและนิ่มลงหลังให้นมแม่แล้ว
มีน้ำนมไหลหรือแม่รู้สึกมีน้ำนมไหลออกมา
วิธีการให้นมบุตร
ลูกดูดบ่อยๆ อย่างน้อย ทุก 2-3 ชั่วโมง
เพื่อกระตุ้นการหลั่งน้ำนม
ให้ลูกอมหัวนมลึกๆถึง Areola
กระตุ้นการหลั่ง Hormone Prolactinและ Hormone Oxytocin
สร้างและขับน้ำนม
หมอนช่วยวางรองตัวเด็ก
ให้ลูกดูดทั้งสองข้าง
ทำความสะอาด เต้านม หัวนม
แม่ใช้นิ้วกดคางเบาๆ หรือเขี่ยข้างมุมปาก เพื่อให้เด็กอ้าปาก ก่อนถอนหัวนมออกจากปากลูก
เพื่อป้องกันหัวนมถลอก
ล้างมือด้วยน้ำสะอาด
จับเด็กให้นั่ง หรืออุ้มพาดบ่าลูบหลังให้เรอ
ป้องกันท้องอืดและสำรอก
อาการที่ต้องระวัง(Breast feeding Warning Signs)
หลังเกิด 3 วัน ปัสสาวะน้อยกว่า 6 ครั้ง/วัน
หลังเกิดวันที่ 3 อุจจาระยังเป็นขี้เทาอยู่
หลังเกิดวันที่ 4 ถ่ายอุจจาระสีเหลือง น้อยกว่า 3-4 ครั้ง/วัน
ดูดนมแม่น้อยกว่า 8 ครั้ง/วัน
เด็กหิวตลอด ร้องกวน ไม่พัก กระวนกระวาย
เด็กหลับนานระหว่างมื้อนม (หลับนานเกิน 4-6 ชั่วโมง)
แม่มีน้ำนมแต่ขณะลูกดูดนมไม่ได้ยินเสียงหรือไม่เห็นการกลืนผ่านลำคอ
เจ็บหัวนมขณะให้ลูกดูดนม
แม่มีนมคัดแข็ง หลังให้นมแม่เต้านมไม่แฟบลง
น้ำหนักลดมากกว่า 7 % ของน้ำหนักแรกเกิด ใน 3-4 วันแรก
5.6 การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีภาวะเบี่ยงเบนทางสุขภาพ
สังเกตทารกร้องบ่อย /นอนมากกว่าตื่น การงอแขนขาเมื่อร้อง/ดิ้น
การขับถ่ายอุจจาระจำนวนครั้งต่อวัน ลักษณะเหลว สีเปลี่ยนแปลงจากขี้เทา เป็น สีเหลืองทอง/สีเหลืองปกติ
การปัสสาวะจ้านวนครั้งต่อวัน สีเหลืองเข้ม/จาง
สีผิว ใบหน้า แขนขา ล้าตัว อาจจะเป็นสีเหลืองจากภาวะเหลืองในทารกแรกเกิด
การติดเชื้อที่ตา สะดือ บริเวณที่ฉีดวัคซีนระบบทางเดินหายใจ ท้องเสีย ผื่นแพ้ ตามตัว
ทารกเพศหญิงบางราย อาจมีตกขาว/เลือดออกเล็กน้อบทางช่องคลอด
5.4 การส่งเสริมสุขภาพมารดาหลังคลอด
การดูแลความสะอาดและการป้องกันการติดเชื้อ
การติดเชื้อที่แผลฝึเย็บและโพรงมดลูกและปีกมดลูกใช้น้ำเปล่าและสบู่ทำความสะอาดได้การเช็ดจากหน้าไปหลังห้ามย้อนศร
ก่อนทำความสะอาด ควรล้างมือให้สะอาดใส่ผ้าอนามัยจากหน้าไปหลัง เปลี่ยนผ้าอนามัยบ่อยๆ อย่างน้อยทุก 4ชม.
การอาบน้ำการอาบน้ำทุกวัน อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง หรืออาจมากกว่า 2 ครั้งก็ได้
การอาบก็ควรใช้วิธีตักหรืออาบน้ำจากฝักบัว ไม่ควรจะลงแช่ในแม่น้ำลำคลองหรืออ่างอาบน้ำเพราะจะทำให้น้ำสกปรกแทรกซึมเข้าไปในช่องคลอด
การมีเพศสัมพันธ์หลังคลอดและการวางแผนครอบครัว
งดการมีเพศสัมพันธ์( SEXUAL INTERCOURSE) 4-6 สัปดาห์
อาการผิดปกติที่ควรมารพ.ก่อนวันนัด
มีไข้หนาวสั่น
เต้านมแดงเจ็บเป็นตุ่มหนอง
ปวดมดลูกมากกว่าตอนอยู่โรงพยาบาล/ปวดท้องน้อยข้างใดข้างหนึ่ง
แผลบวม เจ็บตึง มีเลือด/หนองไหลจากแผล
น้้าคาวปลามีกลิ่นเหม็นออกมากกว่าวันละ4ผืนชุ่มผ้าอนามัย
ปัสสาวะแสบขัดมีกลิ่น/ปัสสาวะขุ่น
ถ่ายอุจจาระลาบาก
การมาตรวจตามนัด
การนัดหลังคลอด 7วันเพื่อติดตามแผลจากการคลอด
การนัดหลังคลอด 6สัปดาห์เพื่อติดตามมดลูกเข้าอู่คืนสภาพตามปกติ
การคุมกาเนิดหลังคลอดควรเริ่มประมาณ4 สัปดาห์ หลังคลอด
นางสาวธนาภรณ์ สุพิทักษ์ 64019518