Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิวัฒนาการของนาฏศิลปและ
การละครไทย ยุคแรก, สมัยน่านเจ้า, สมัยสุโขทัย,…
-
สมัยน่านเจ้า
บุคคลสำคัญ
ครูลมุล ยมะคุปต์
นางลมุล ยมะคุปต์ หรืออีกชื่อหนึ่งที่บรรดาศิษย์ทั้งหลายจะขนานนามให้ท่านด้วยความ เคารพรักอย่างยิ่งว่า “คุณแม่ลมุล” เป็นธิดาของร้อยโท นายแพทย์จีน อัญธัญภาติ กับ นางคำมอย อัญธัญภาติ (เชื้อ อินต๊ะ) เกิดเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ.2448 ณ จังหวัดน่าน ในขณะที่บิดาขึ้นไป ราชการสงครามปราบกบฏเงี้ยว (กบฏ จ.ศ.1264 ปีขาล พ.ศ. 2445)
การแสดงที่สำคัญ
ระบำนกยูง
ศิลปะการแสดงชั้นสูงของจีน ช่วงสมัยราชวงศ์ถัง นำเสนอการแสดงผ่านความอ่อนช้อยของสรีระนักแสดง และความพร้อมเพรียงของโชว์ การแสดงชุดนี้เป็นการถ่ายทอดอารมณ์และเลียนแบบท่าทางของนกยูง ที่ต้องอาศัยทักษะของนักแสดงอย่างมาก ในการสื่อสารเสน่ห์อันดึงดูดของนกยูงผ่านการแสดง นำเสนอในชุดสีขาวสะอาดตา โดดเด่นด้วยลายเอกลักษณ์
การแต่งกาย
หญิงไม่ผัดหน้า เขียนคิ้ว แต่ทาผมด้วยน้ำจากต้นหม่อน สตรีสูงศักดิ์ นุ่งห่ม ซิ่นไหม ย้อมสีสวยงาม บนเอวมีวิ่นไหม ประดับอีกผืนหนึ่ง (ไม่ใช่ย้ำคาดเอว) เกล้าผมสูงบางที ประดิษฐ์ผมเปียห้อย แล้วม้วนไว้ด้านหลัง ต่างหูทำด้วยไข่มุก ทับทิม หรืออำพัน นิยมประดับดอกไม้
-
สมัยสุโขทัย
บุคคลสำคัญ
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชมีพระนามเดิมว่า พระราม พ่อขุนรามคำแหงมหาราชเป็นพระราชโอรสองค์ที่ 3 ของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์กับนางเสือง ทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 3 ในราชวงศ์พระร่วงแห่งราชอาณาจักรสุโขทัย
การแสดงที่สำคัญ
ระบำเทวีศรีสัชนาลัย
เป็นระบำที่วิทยาลัยนาฏศิลปะสุโขทัยคิดประดิษฐ์ขึ้น โดยนำหลักฐานทั้งทางด้านท่ารำ เครื่องแต่งกายมาจากรูปปั้น รูปแกะสลักเทวดา นางฟ้า และลวดลายต่างๆ ที่ปรากฏอยู่บนโบราณสถาน โบราณวัตถุที่ขุดค้นพบ ณ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย อำเภอศรีสัชนาลัย
ท่วงทำนองแต่งโดย อาจารย์บัณฑิต ศรีบัว อาจารย์ประจำหมวดวิชาเครื่องสายไทย ภาควิชาดุริยางค์ไทยวิทยาลัย นาฏศิลปสุโขทัย
การแต่งกาย
สมัยพระเจ้าอู่ทองสร้างกรุงศรีอยุธยา ชาวบ้านปลดกางเกงหรือ สนับเพลาออกบ้างแล้ว คงใช้เฉพาะขุนนางข้าราชสำนัก แบบขัดเขมรจึงถูกปล่อยให้ยาวลงมาถึง ใต้เข่าเป็น “นุ่งโจงกระเบน” เสื้อคอกลมแขนกรอมศอก สตรีนุ่งผ้าและผ้ายกห่มสไบเฉียง สวมเสื้อ บ้างโดยมากเป็นแขนกระบอก
-
สมัยธนบุรี
การแสดงที่สำคัญ
ละครใน สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีได้ทรงรวบรวมตัวละครที่กระจายหนีภัยสงครามบ้างและตัวละครผู้หญิงของหลวงขึ้นใหม่ จึงได้มีละคร ผู้หญิงแต่ของหลวงเพียงโรงเดียวตามแบบเดิม บทละครก็ใช่ของเดิมซึ่งไม่ค่อยจะสมบูรณ์
ละครนอก มีมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา เป็นละครที่แสดงกันนอกราชธานี แต่เดิมควมาจากการละเล่นพื้นเทือง และร้องแก้กัน แล้วต่อมาภายหลังจับเป็นเรื่องเป็นตอนขึ้น เป็นละครดัดแลงวิวัฒนาการ"โนห์รา"หรือ"ชาตรี"
รามเกียรติ์ พระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีเป็นบทละครเพียงบางตอนที่ปรากฏต้นฉบับสมุดไทยฉบับหลวง จำนวน 4 เล่มคือ เล่ม 1 ตอนพระมงกุฎ เนื้อความตั้งแต่ พระมงกุฎลองฤทธิ์จนถึงพระลบมาช่วยพระมงกุฎในเมืองอยุธยา เล่ม 2 ตอนหนุมานเกี้ยวนางวานรินจนถึงท้าวมาลีวราชว่าความ เล่ม 3 ตอนท้าวมาลีวราชว่าความจนถึงทศกัณฐ์เข้าเมือง
-
-
-
สมัยอยุธยา
บุคลสำคัญ
สมเด็จพระสุริโยทัย
พระสุริโยทัย หรือคำให้การชาวกรุงเก่าออกพระนามว่าพระมหาเทวี[1] เป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 15 ของอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์สุพรรณภูมิ พระสุริโยทัยตามพงศาวดารหลวงประเสริฐฯ กล่าวเพียงแค่เป็นอัครมเหสีผู้เสียสละพระชนม์ชีพเพื่อปกป้องพระราชสวามีในสงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้ในปี พ.ศ. 2092 จึงได้รับยกย่องเป็นวีรสตรี
การแสดงที่สำคัญ
มีการแสดงละครชาตรี ละครนอก ละครใน แต่เดิม ที่เล่นเป็นละครเร่ จะแสดงตามพื้นที่ว่างโดยไม่ต้องมีโรงละคร เรียกว่า ละครชาตรี ต่อมาได้มีการวิวัฒนาการ เป็นละครรำ เรียกว่า ละครใน ละครนอก โดยปรับปรุงรูปแบบ ให้มีการแต่งกายที่ประณีตงดงามมากขึ้น มีดนตรีและบทร้อง และมีการสร้างโรงแสดง
ละครนอก
ละครนอกมีวิวัฒนาการมาจากละครชาตรี เพราะมุ่งที่จะให้คนดูเกิดความขบขัน ผู้แสดงละครนอกแต่เดิมมีผู้แสดงอยู่เพียง 2-3 คน เช่นเดียวกับละครชาตรี
-
-
-
ละครใน
จะประกอบไปด้วยดนตรีที่มีเสียงไพเราะอ่อนหวาน ใช้บทร้อยกรองได้อย่างวิจิตรบรรจง รวมทั้งจะมีท่าทางสง่างาม ไม่มีการสอดแทรกหยาบโลนหรือตลก และอนุรักษ์วัฒนธรรมและคุณลักษณะที่เป็นประเพณีสืบทอดกันมาง
-
-
การแต่งกาย
การแต่งกายแบบชาวบ้าน (ระยะกลางของสมัยอยุธยา) มีการนุ่งโจงกระเบนทางแถบ เมืองเหนือ ผู้ชายอาจไว้ผมยาว ส่วนทางใต้ลงมาตัดผมสั้น ลง ครั้นสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้มีการไว้ผมมหาดไทย ผู้หญิงยังคงไว้ผมยาวนิยมห่มสไบ
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-