Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 12 การจัดการทรัพยากรเพื่อส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรตามหลักปรัชญา…
หน่วยที่ 12
การจัดการทรัพยากรเพื่อส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
พัฒนาการภาคการเกษตรไทยภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
แนวคิดพระราชทานหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการสมดุลและยั่งยืนของสังคมไทย
องค์ประกอบของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล
ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
เงื่อนไขสำคัญ
เงื่อนไขความรู้
เงื่อนไขคุณธรรม
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางสร้างภูมิคุ้มกันภาคการเกษตรไทย
ช่วงทศวรรษแรก
การขยายตัวอย่างรวดเร็ว พื้นที่การผลิตพืชเชิงเดี่ยวเพื่อการค้า
ช่วงทศวรรษที่ 2
ยุคทองของภาคเกษตรกรรมทั้งการผลิตและการส่งออก
ช่วงทศวรรษที่ 3
การมุ่งสู่การเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่
ช่วงทศวรรษที่ 4
การขยายตัวอย่างไม่จำกัด ระบบตลาดเสรี โดยเฉพาะทางการเงินการคลัง เกิดการปฏิรูประบบต่างๆและหาแนวทางพัฒนาประเทศนำไปสู่ความยั่งยืน
ช่วงทศวรรษที่ 5
เน้นความสมดุลโครงการขับเคลื่อนทุนเศรษฐกิจ
ทุนสังคมและทุนสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลเท่าเทียมกัน ท่ามกลางปัญหาที่เพิ่มขึ้น จากการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม ปัญหาสังคม การเมือง การผันผวนทางเศรษฐกิจและภัยพิบัติจากสภาพแวดล้อมที่เสื่อมโทรม
พัฒนาการภาคการเกษตรไทยตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
ประชากรแรงงานภาคการเกษตร
ที่ดินทางการเกษตร
ความเข้มแข็งของเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร
ทรัพยากรธรรมชาติและโครงสร้างพื้นฐานทางการเกษตร
ทรัพยากรดิน
น้ำฝนและน้ำท่า
พื้นที่ทำการเกษตร
แหล่งประมง
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การจัดการทรัพยากรการเกษตรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ระบบเกษตรยั่งยืนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ระบบการทำ การเกษตรที่ให้ความสำคัญกับระบบนิเวศ โดยจะต้อง ช่วยฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากร ในไร่นาและสิ่งแวดล้อมลดการพึ่งพาปัจจัยการผลิตจากภายนอกให้ได้มากที่สุด
รูปแบบระบบเกษตรยั่งยืนที่เหมาะสม
เกษตรผสมผสาน
เน้นกิจกรรมการผลิตมากกว่า 2 กิจกรรมขึ้นไปในเวลาเดียวกัน
เป็นการจัดการความเสี่ยงและการประหยัดทางขอบข่าย
เกษตรอินทรีย์
เน้นหนักการผลิตที่ไม่ใช้สารอนินทรีย์เคมีหรือเคมีสังเคราะห์แต่สามารถใช้อินทรีย์เคมีได้
สร้างความปลอดภัยด้านอาหารให้แก่ผู้บริโภค
เกษตรธรรมชาติ
ฟื้นฟูความสมดุลของระบบนิเวศและลดการพึ่งพาปัจจัยภายนอก
เน้นการทำเกษตรที่ไม่รบกวนธรรมชาติหรือรบกวนให้น้อยที่สุดโดยการไม่ไถพรวนไม่ใช้สารเคมี ไม่ใช้ปุ๋ยเคมีและไม่กำจัดวัชพืช
เกษตรทฤษฎีใหม่
การบริหารจัดการพื้นที่ให้มีประสิทธิภาพบนความยั่งยืนบนพื้นที่อันจำกัด
สร้างความมั่นคงด้านอาหารซึ่งเป็นขั้นพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียงระดับครัวเรือน
วนเกษตร
เน้นหนักการมีต้นไม้ใหญ่และพืชเศรษฐกิจหลายระดับที่เหมาะสมกับแต่ละพื้นที่เพื่อการใช้ประโยชน์ป่าไม้ของพืชและสัตว์ชนิดต่างๆที่เกื้อกูลกัน
เป็นการอยู่ร่วมกันของป่าและการเกษตร ทั้งยังเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ
ระบบเกษตรทฤษฎีใหม่
การบริหารและจัดแบ่งที่ดินออกเป็นสัดส่วนที่ชัดเจนเพื่อประโยชน์สูงสุดของเกษตรกร
มีการคำนวณโดยหลักวิชาการเกี่ยวกับปริมาณน้ำที่จะกักเก็บให้เพียงพอต่อการเพาะปลูกได้ตลอดปี
มีการวางแผนที่สมบูรณ์แบบสำหรับเกษตรกรรายย่อยโดยมีขั้นตอนทั้งสิ้น 3 ขั้นตอน
ทฤษฎีใหม่ขั้นต้น
ทฤษฎีใหม่ขั้นกลาง
ทฤษฎีใหม่ขั้นก้าวหน้า
การจัดการทรัพยากรการเกษตรกับมิติความพอเพียง
การจัดสรรทรัพยากรเพื่อให้ได้ประโยชน์สูง
การบริหารความเสี่ยงและความไม่แน่นอน
การประหยัดทางขอบข่าย
ความมั่นคงด้านอาหาร
การลงทุนและการออมในไร่นา
การจัดการทรัพยากรในงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเพื่อความยั่งยืนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรตามบริบทภูมิสังคมที่แตกต่างกัน
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรต้องพิจารณาแนวคิดมากกว่าการมีเทคโนโลยีการเกษตร
ความแตกต่างในกระบวนการพัฒนาการเกษตร
ความสำคัญของการสร้างเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
การพัฒนาการเกษตรจากฐานชุมชนเป็นหลัก
ความสมดุลของอุปทานและอุปสงค์ในการพัฒนาการเกษตร
ความเข้มแข็งของกลุ่มขึ้นอยู่กับการมีส่วนร่วมของเกษตรกรและรัฐ
การพัฒนาเกษตรแบบยั่งยืนเป็นกระบวนการที่ต้องใช้เวลา
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเพื่อความยั่งยืน
หลักการทรงงานว่าด้วย ระเบิดจากข้างใน ไม่ติดตำราและภูมิสังคม
หลักการทรงงานว่าด้วย ทำตามลำดับขั้นตอน
หลักการทรงงานว่าด้วย การมีส่วนร่วมและ ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ
หลักการทรงงานว่าด้วย ประโยชน์ส่วนรวม
หลักการทรงงานว่าด้วย ขาดทุนคือกำไรและ รู้ รักสามัคคี
ประเด็นสำคัญ
เปลี่ยนแนวทางการแก้ไขปัญหา
เปลี่ยนระบบกลไกการทำงาน
เปลี่ยนโครงสร้างความสัมพันธ์
เปลี่ยนเป้าหมายในการพัฒนาสังคม
เปลี่ยนอุดมการณ์แห่งความคิด
ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการจัดการทรัพยากรในงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาการเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงต้องพิจารณามากกว่าการมีเทคโนโลยีการเกษตรโดยยึดหลักการของแนวคิดระบบเกษตรยั่งยืน
ความแตกต่างในกระบวนการพัฒนาการเกษตรยั่งยืน การวางแผนการพัฒนาการเกษตรแบบยั่งยืนจะต้องตระหนักถึงเป้าหมายสุดท้าย คือการพัฒนาเกษตรกรที่ยากจนให้สามารถช่วยเหลือตัวเองได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดีพอสมควร
ความสำคัญของการสร้างเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
การพัฒนาการเกษตรจากฐานชุมชนเป็นหลัก เน้นการพัฒนาทั้งในระดับเกษตรกรแต่ละคนและในระดับชุมชนในเวลาเดียวกัน
ความสมดุลของอุปทานและอุปสงค์ในการพัฒนาการเกษตร
ความเข้มแข็งของกลุ่มขึ้นอยู่กับการมีส่วนร่วมของเกษตรกรและรัฐ การพัฒนาผ่านกระบวนการกลุ่มเป็นแนวทางในการพัฒนาการเกษตรแบบยั่งยืน การพยายามสนับสนุนให้กลุ่ม องค์กรและเครือข่ายมีความเข้มแข็งพึ่งพาตนเองได้
การพัฒนาการเกษตรแบบยั่งยืนเป็นกระบวนการที่ต้องใช้ระยะเวลา
91724 การจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร นางสาวธนาภรณ์ ระดมเล็ก 2649002363