Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 9 มาตรการทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพั…
หน่วยที่ 9
มาตรการทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความสัมพันธ์ทางเศรษฐศาสตร์ระหว่างมนุษย์และทรัพยากร
การเกษตรและผลกระทบจากการใช้ทรัพยากร
ระบบปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
ทุน
แรงงาน
แรงงานครัวเรือน
แรงงานรับจ้าง
ที่ดิน
การจัดการ
ผู้จัดการฟาร์ม
ทรัพยากรทางการเกษตรในระบบการผลิต
หลักการในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการผลิตทางการเกษตร
พิจารณาจากการใช้ประโยชน์ของทรัพยากรนั้น มากกว่าจะใช้ราคาตลาดของทรัพยากร
ความจำกัดของทรัพยากรธรรมชาติ
ค่าเช่าของทรัพยากรธรรมชาติ
ต้นทุนในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
ผลกระทบจากการใช้ทรัพยากรทางการเกษตร
ด้านสิ่งแวดล้อม
ด้านสังคม
เศรษฐศาสตร์และแนวคิดในการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน
มิติในการพิจารณาความยั่งยืนของการใช้ทรัพยากร
ด้านกายภาพ
กิจกรรมการเกษตรที่เหมาะสมกับสภาพทรัพยากร
การจัดสรรใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์ทรัพยากร
ด้านสิ่งแวดล้อม
การพิจารณาผลกระทบภายนอกต่างๆที่เกิดขึ้น
การหาทางป้องกันผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม
การแก้ไขปัญหาผลกระทบที่เกิดขึ้นแล้ว
ด้านเศรษฐศาสตร์
ผลประโยชน์ที่แท้จริงจากการใช้ทรัพยากร
การพิจารณาต้นทุนที่แท้จริงจากการใช้ทรัพยากร
ความคุ้มค่าในการตัดสินใจใช้ทรัพยากร
การประเมินค่า ผลกระทบภายนอกที่เกิดขึ้นเป็นตัวเงิน
ด้านสังคม
การยอมรับในแนวคิดการใช้ประโยชน์อย่างไร
ความสอดคล้องกับแนวคิด วัฒนธรรม ประเพณี ศาสนารวมถึงความสามัคคี
ความเหมาะสมของนโยบายส่งเสริมการเกษตรด้านสังคม
มนุษย์ในระบบนิเวศ เศรษฐกิจ และสังคม
การพิจารณาด้านระบบนิเวศ
การพิจารณาด้านระบบเศรษฐกิจ
การพิจารณาด้านระบบสังคม
หลักการทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการทรัพยากร
มิติทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการ
แนวทางในการจัดหาทรัพยากรให้เหมาะสม
แนวทางการจัดการด้านอุปทานทรัพยากร
แนวทางในการบริโภคทรัพยากร
แนวทางการจัดการด้านอุปสงค์ทรัพยากร
แนวทางในการแทรกแซงกลไกราคา
แนวทางการจัดการด้านอุปทานโยบายทรัพยากร
แนวทางในการสร้างกรอบเงื่อนไขของระบบเศรษฐกิจ
แนวทางการจัดการด้านสถาบัน
การจัดการด้านอุปทานทรัพยากร
ปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มขึ้นของอุปทานทรัพยากรเพื่อตอบสนองต่ออุปสงค์ที่เพิ่มขึ้นตลอดเวลา
ราคาเสนอขายทรัพยากร
ต้นทุนการได้มาซึ่งทรัพยากร
ผลกระทบภายนอก
เทคโนโลยี
การใช้ทรัพยากรทดแทน
การนำเข้าทรัพยากร
การจัดการด้านอุปสงค์ทรัพยากร
ปัจจัยที่มีผลต่อการลดลงของอปสงค์ทรัพยากร
รายได้
ประชากร
ราคาเสนอซื้อทรัพยากร
รสนิยมและค่านิยม
วิถีชีวิต
การจัดการด้านนโยบายเศรษฐกิจ
ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้นโยบายการคลัง
กลไกตลาดและราคา
การบริโภคที่มีเหตุผล
กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของรัฐ
การจัดการด้านสถาบัน
ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้แนวทางการจัดการสถาบัน
สังคมแห่งองค์ความรู้
ความชัดเจนด้านกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน
การบังคับใช้กฎหมาย
การปฏิรูปอย่างเป็นระบบ
การประยุกต์ใช้มาตรการทางเศรษฐศาสตร์
ประเภทของเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ระดับจุลภาค
ระบบมาตรฐานการผลิตการเกษตรที่ดี
ระบบมาตรฐานสินค้าเกษตร
ระบบมาตรฐาน [CODEX]
ระบบหลักวิเคราะห์และควบคุมจุดวิกฤตและอันตราย
ระบบมาตรฐาน ISO 9000
เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ที่มีการนำมาใช้ในประเทศไทย
เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ที่มีกำหนดไว้ในกฎหมาย
เพื่อแสวงหาผลประโยชน์หรือรายได้จากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและจัดการปัญหามลพิษ
เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ที่มีการประยุกต์ใช้จริง
ประเภทของเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ระดับมหภาค
สิทธิในการใช้ประโยชน์
ตลาดการซื้อ-ขายสิทธิในการใช้ประโยชน์
มาตรการด้านภาษี
ค่าธรรมเนียม
มาตรการทางการเงิน
ระบบมัดจำและการค้ำประกัน
ปัญหาการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการทรัพยากรการเกษตร
สรุปประเด็นปัญหาในความเข้าใจทางเศรษฐศาสตร์ของการจัดการทรัพยากรการเกษตร
ปัญหาด้านระบบฐานข้อมูลการผลิตระดับจุลภาค
ปัญหาความพร้อมทางวิชาการระดับมหภาค
ปัญหาโครงสร้างระบบภาษีของประเทศไทย
ปัญหาผลกระทบของการบังคับใช้ในด้านการเมือง
ปัญหาผลกระทบของการบังคับใช้ต่อภาคการผลิต
ปัญหาข้อสมมติของการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
91724 การจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร นางสาวธนาภรณ์ ระดมเล็ก 2649002363