Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 15 นโยบายด้านการจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร,…
หน่วยที่ 15
นโยบายด้านการจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดและวิวัฒนาการเกี่ยวกับนโยบายด้านการจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย ความสำคัญ ที่มาและประเภทของนโยบาย
นโยบายเป็นตัวกำหนดทิศทางหรือแนวทางในการปฏิบัติงาน
วิวัฒนาการด้านการจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
สมัยกรุงสุโขทัย รับรองความเป็นเจ้าของทรัพยากรทางการเกษตร
สมัยกรุงศรีอยุธยา จัดองค์กรการบริหารจัดการด้านเกษตร
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
• ยุคก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 จัดการทรัพยากรเพื่อการเพิ่มผลผลิตทั้งชนิดและปริมาณเพื่อการแลกเปลี่ยนหรือค้าขายกับต่างประเทศ
• ยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรเพื่อการผลิตสินค้าเกษตร
• ยุคโลกาภิวัฒน์ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการใช้ทรัพยากรเพื่อประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรควบคู่กับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
นโยบายและแผนจัดการทรัพยากรในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1-10
ระยะที่ 1 แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1-4 ภาครัฐเป็นกลไกในการบริหารจัดการแผนสู่การปฏิบัติ โดยเน้นการเพิ่มอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และการลงทุนในโครงการพื้นฐานต่างๆ
ระยะที่ 2 แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 5-7 ภาคเอกชนเริ่มเข้ามามีบทบาทร่วมในการขับเคลื่อนการพัฒนา เพราะในระยะนี้การเมืองในประเทศมีความมั่นคง แต่ความยากจนของคนในชนบทอยู่ในระดับสูง การพัฒนาจึงเน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพและมุ่งแก้ปัญหาความยากจน
ระยะที่ 3 แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8-10 ภาคีการพัฒนาขยายสู่ภาคประชาสังคมและชุมชน โดยเน้นการขับเคลื่อน “กระบวนการมีส่วนร่วม” หรือ “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” และ การน้อมนำ “หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”
นโยบายและยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรในปัจจุบัน
นโยบายและแนวทางการจัดการทรัพยากรของรัฐบาล
นโยบายและแนวทางการจัดการของรัฐบาลจะต้องสอดคล้องกับสถานการณ์ทั้งภายในและภายนอกประเทศ ทั้งในอดีต ปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคตและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นเครื่องมือสำคัญในการสะท้อนสถานการณ์ดังกล่าว
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 ที่เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากร
เน้นการจัดการทรัพยากรโดยการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักการมีส่วนร่วมหรือคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาไปสู่การปฏิบัติ
ด้านการฟื้นฟูอนุรักษ์ทรัพยากร
การพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์
ยุทธศาสตร์การฟื้นฟูอนุรักษ์ทรัพยากรและการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์
ส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรการเกษตรและโครงสร้างพื้นฐานการเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกษตรกรใช้ทรัพยากรการผลิตอย่างเหมาะสมและยั่งยืน
สนับสนุนและผลักดันให้เกษตรกรมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตร
เตรียมความพร้อมรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและวางระบบการป้องกันและบรรเทาปัญหาภัยธรรมชาติ
ยุทธศาสตร์การฟื้นฟูอนุรักษ์ทรัพยากร
การปรับฐานการผลิตและการบริโภคให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
การอนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อเสริมสร้างธรรมาภิบาล
การสร้างคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี ให้กับประชาชนในทุกระดับ
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติ
การพัฒนาคนและสังคมให้มีสำนึกรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม
การแปลงนโยบายด้านการจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมการเกษตรสู่การปฏิบัติ
การแปลงนโยบายด้านการฟื้นฟูอนุรักษ์ทรัพยากร
การแปลงนโยบายด้านการฟื้นฟูอนุรักษ์ทรัพยากรเป็นการนำเอายุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาในมิติด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติมาจัดทำเป็นแผนงานและโครงการต่างๆ
การแปลงนโยบายด้านพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ในการพัฒนาทรัพยากรการเกษตร
การแปลงนโยบายด้านพัฒนาทรัพยากรการเกษตรเป็นการแปลงนโยบายด้านพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ในยุทธศาสตร์พัฒนาทรัพยากรการเกษตรเป็นแผนงาน โครงการกิจกรรมที่จะดำเนินการ
91724 การจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร นางสาวธนาภรณ์ ระดมเล็ก 2649002363