Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองคร์วม มารดาในระยะหลังคลอดปกติ - Coggle Diagram
การพยาบาลแบบองคร์วม
มารดาในระยะหลังคลอดปกติ
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของมารดาหลังคลอด
ระยะหลังคลอดแบ่งเป็น 3 ระยะ
ทันทีหลังคลอด(puerperiumimmediate)ระยะ 24 ชั่วโมงหลังคลอด
หลังคลอดระยะต้น (puerperiumearly) วันที่ 2-7 วัน
หลังคลอดระยะปลาย (puerperiumlate)ระยะ 2-6 สัปดาห์หลังคลอด
สรีระวิทยาระยะหลังคลอด
มดลูกอยู่ระดับระหว่างสะดือกับ Public Symphysis
ต่อมาลดลง 1⁄2 - 1 “/ day 10 –12 วันจะคลำไม่พบ
การเปลี่ยนแปลงเพื่อกลับคืนสู่สภาพปกติก่อนตั้งครรภ์
ภาวะขาดเลือด Uterus หดรัดตัวเส้นเลือดในMyometrium ถูกบีบ
มีการสลาย Cytoplasm ของ Protein ใน Cell (Autolysis) ทำให้ Cell มีขนาดเล็กลงแผลรกเกาะจะมีขนาดประมาณ 1 ฝ่ามือ
น้ำคาวปลา
Lochia Rubra 1-3 วันหลังคลอดจะเห็นเป็นสีแดงและไม่
เป็นก้อนหรือไม่เป็นลิ่มเลือด
Lochia Serosa 4-10 วันหลังคลอด จะเห็นเป็นสีน้ำตาลอ่อนหรือสีชมพู มีจำนวนน้อยยลง
LochiaAlba11-15วันมีสีขาว(Cream)หรือเหลืองจางๆ จำนวนน้อยมากจนค่อยๆ หมดไปจะหมดในหนึ่งเดือน
การเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก
ปากมดลูกเปลี่ยนจากกลมเป็นฉีกขวาง
รอยฉีกขาดของฝีเย็บแบ่งออกได้เป็น
First degree การฉีกขาดของผิวหนังบริเวณฝีเย็บและเยื่อบุช่องคลอดแต่ไม่ถึงชั้น fascia และชั้นกล้ามเน้ือ
Second degree คือ มีการฉีกขาดของ fascia และชั้นกล้ามเน้ือแต่ไม่ถึงรูหูรูดของทวารหนัก
Third degree คือ second degree ท่ีมีการฉีก
ขาดของรูหูรูดของทวารหนักร่วมด้วย (anal sphincter)
Fourth degree มีการฉีกขาดถึงบริเวณทวารหนัก (rectum) หรือเยื่อบุลำไส้ใหญ่ส่วนล่างหรือท่อปัสสาวะร่วมด้วย
การเปลี่ยนแปลงของเต้านม
การสร้างน้ำนม เกิดจาก alveolus ถูกกระตุ้นโดย hormone prolactin
สัญญาณชีพ
อณุหภูมิหลังคลอด 24 ชั่วโมงจะเพิ่มข้ึนไม่เกิน 38 c (100.4F) โดยวิธีวัดทางปากซึ่งเรียกว่า reactionary fever
ชีพจรมักช้าลงอยู่ระหว่าง 60-70 ครั้ง/นาที อาจจะช้าถึง40-50 ครั้ง/นาทีใน1-2 วันแรกหลังคลอด
ความดันโลหิตไมเ่กิน 140/100
การหายใจ 16-24 ครั้งต่อนาที
Postpartumblue ช่วง2-3 วันจะวิตกกังวลสับสนเก่ียวกับตนเองลูก
การแสดงออกอาจมีอาการนอนไม่หลับ เบื่ออาหารร้องไห้ง่าย
การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
กระบวนการสร้างและหลั่งน้ำนม
การผลิตน้ำนมในระยะหลังคลอดเมื่อระดับ Hormone Estrogen (ฮอร์โมนเอสโตรเจน) และ Hormone Progesterone(ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน)ลดลงจะเริ่มมีการผลิตน้ำนม การกระตุ้นการผลิตน้ำนมโดยการดูด นมของทารก
เต้านมช่วงPregnancyจะขยายหลังคลอดจะขยายเพิ่มมากขึ้น Lobules เจริญมากเพื่อสร้าง Prolactin ท่ี Anterior Pituitary, Prolactin จะไปกระตุ้น Breast ให้สร้างน้ำนม
วิธีการให้นมบุตร
ล้างมือเช็ดทำความสะอาด เต้านม หัวนม ด้วยน้ำสะอาด
นั่งหรือนอนในท่าสบายอาจใช้หมอนช่วยวางรองตัวเด็กเพื่อให้ปากเด็กอยู่ระดับเดียวกับหัวนม
ให้ลูกอมหัวนมลึกๆถึงAreola
ให้ลูกดูดบ่อยๆ อย่างน้อย ทกุ 2-3 ชั่วโมง ในวันแรกๆเพื่อกระตุ้นการหลั่งน้ำนม
ข้อดีของน้ำนมมารดา
ประหยัด
สะดวก สะอาด และปลอดภัย
มีภูมิต้านทานต่อโรคติดเชื้อ
ด้านจิตใจเป็นการชว่ยสร้าง
BondingAttachment
ให้สารอาหารครบถ้วน
ท่าอุ้ม
ท่าที่ 1 Cradle Hold
ท่าที่ 2 Football Hold
ท่าที่ 3 cross cradle Hold
ท่าที่ 4 Side-lying position
ท่าประคองเต้านม (Breast Holding Technique)
C Hold Technique
U Hold Technique
V Hold Technique or Scissors Hold Technique
ปัญหาที่พบบ่อยและวิธีการแก้ไข
น้ำนมมารดามีน้อยน้ำนมไม่พอ
สาเหตุเกิดจากทารกดูดไม่ถูกวิธี ต่อมน้ำนมมารดามีปริมาณน้อยจึงไม่พอกับการสร้างน้ำนม มารดาขาดสารอาหารได้รับน้ำไม่เพียงพอ
การพยาบาล
ในระยะ30นาทีแรกหลังคลอดควรนำทารกไปดูดนมมารดาเร็วที่สุด
จัดให้มารดาและทารกอยู่ด้วยกัน(Rooming-in)
แนะนำให้มารดาให้นมบุตรเพียงอย่างเดียว
ดูแลได้พักผ่อนเต็มที่ขณะที่ทารกหลับ
ดูแลการรับประทานอาหารและน้ำอย่างเพียงพอ
น้ำนมมารดามีมาก
มีการสร้างน้ำนมในปริมาณมากและเกินความ ต้องการของทารกเมื่อทารกดูดนมทำให้ทรากดูดนมไม่ทันและสาลักทารกจะโมโหและร้องไห้
การพยาบาล
แนะนำให้มารดาบีบน้ำนมออกบางส่วนแล้วจึงนำทารกมาดูด
แนะนำให้มารดาให้นมบุตรข้างเดียวในแต่ละมื้อเพื่อลดการกระตุ้นการสร้างน้ำนมให้ลดลง
เต้านมคัด(Breast engorgement)
เกิดจากการที่มารดาให้ทารกดูดนมช้าเกินไปหรือให้ทารกดูดนมระยะห่างเกินไปทำให้ปฏิกิริยา Let down reflex เกิดขึ้นช้า เนื่องจากขาดการกระตุ้นจากการดูดนมของทารกทำให้น้ำนมคั่งอยู่ในกระเปาะเก็บน้ำนม
การพยาบาล
แนะนำมารดานำเด็กไปดูดนมเร็วที่สุด
ใช้กระเป๋าน้ำแข็งหรือผ้าเย็นประคบ
Breast support
นวดเต้านม
ให้ยาแก้ปวด
ห้ามPumpน้ำนมออก
หัวนมแตก
สาเหตุเกิดจากทารกดูดไม่ถูกวิธี
การพยาบาล
แนะนำให้มารดานำบตรดูดนมข้างที่เจ็บน้อยกว่าเพื่อกระตุ้นให้เกิด Let down reflex
บีบน้ำนมออกเล็กน้อยแล้วทาบริเวณหัวนมและรอบๆแล้วปล่อยให้ แห้งจะช่วยให้หายเร็วขึ้น
ถ้าหัวนมแตกรุนแรงอาจจำเป็นต้องใช้หัวนมปลอมครอบ (nipple shield)
ถ้ามีอาการปวดหัวนมมากให้ยาบรรเทาปวดเพื่อให้มารดาสบายขึ้น
การปรับตัวด้านจิตสังคมและบทบาทการเป็นมารดาหลังคลอด
ระยะพฤติกรรมระหว่างพึ่งพาและไม่พึ่งพา(Taking-Hold Phase)
ระยะน้ีใช้เวลาประมาณ3-10วัน มารดามีประสบการณ์มากข้ึนมีการปรับตัวกับชีวิตใหม่ ได้พักผ่อนเพียงพอและฟื้นจากการสูญเสียพลังงานในระยะคลอด สนในตนเองน้อยลงและสนใจบุตร
มากข้ึนมารดาจะพึ่งพาตนเองมากข้ึน
ระยะที่มีพฤติกรรมพึ่งพา(Taking-inPhase)
ระยะน้ีอาจใช้เวลา1-2วัน เป็นระยะที่มารดาหลังคลอดจะมุ่งความสนใจไปท่ีตนเองและต้องการพึ่งพาผู้อื่นสูง สนใจแต่ความต้องการและความสุขสบายของตนเองมากกว่าท่ีจะนึกถึงบุตร
ระยะอิสระ (Interdependent phase หรือ Letting go phase)
เกิดหลังวันที่ 10 ของการคลอดมารดาจะเริ่มมีปฏิสัมพันธ์กับสังคมโดยในส่วนลึกของจิตใจยังห่วงใยบุตร
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของมารดา
ระบบผิวหนัง Body condition
ฝ้าบริเวณใบหน้า (Chloasmagravidarum) จะจางหายไป
Areola(ลานนม)จะเข้มขึ้น
ร่างกายขับเหงื่อออกทางผิวหนัง
ระบบทางเดินอาหาร bowel movement
เนื่องจากเสียน้ำทางเหงื่อขณะคลอด ได้อาหารลดลงหรือNPO,นอนพักบนเตียงอาจทำให้ท้องผูก
ระบบต่อมไร้ท่อ
ฮอร์โมนเอสโตรเจน(Estrogen)จะลดลงภายใน 3 ชั่วโมงหลังคลอด จนกระทั่งเข้าสู่วันที่ 19-21 หลังคลอดจึงจะตรวจพบฮอร์โมนเอสโตรเจนระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนจะกลับคืนสู่ปกติ
ระบบเลือด
ภายใน 1สัปดาห์หลังคลอดสารที่เป็น องค์ประกอบในการแข็งตัวของเลือด (Clotting factor) ยังคงมีค่าสูงอยู่
กล้ามเนื้อ 1-2 วันแรกมารดาหลังคลอดจะมีอาการ เมื่อยและปวดกล้ามเนื้อเนื่องจากออกแรงเบ่งขณะคลอด และฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนลดลงหลังคลอดส่วนกล้ามเนื้อหน้าท้องจะนุ่ม ไมเแข็งแรงและจะหน้าขึ้นบริเวณกลางท้อง บางรายอาจมีกล้ามเนื้อหน้าท้องแยก (Diastasis recti abdominis)
โครงกระดูกหลังคลอด 2-3 วันระดับฮอร์โมนรีแลคชิน ค่อยๆลดลงแต่ยังคงเจ็บปวดบริเวณสะโพกและข้อต่ออาการปวดดังกล่าวจะเป็นชั่วคราวเท่านั้น