Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.1การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา ของมารดาหลังคลอด, Vocab Review - Coggle…
5.1การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา ของมารดาหลังคลอด
5.1การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา ของมารดาหลังคลอด
Physiologic Adaptations - 3 components
การสิ้นสุดของการไหลเวียนเลือดระหว่างมดลูกกับรก
5.1การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา ของมารดาหลังคลอด
การสิ้นสุดของการผลิตฮอร์โมนจากรก ซึ่งเป็นการหยุดการกระตุ้นให้หลอดเลือดขยาย
มีการเคลื่อนย้ายของน้านอกเส้นเลือดที่สะสมระหว่างการตั้งครรภ์กลับเข้าเส้นเลือดทาให้น้าในเซลล์มีปริมาณมากขึ้น
Rationale
Normal labor-blood loss avg. 300-400 ml
Cesarean delivery (C-section) - blood loss avg. 500-1000 ml
ระยะ
หลังคลอด
คือระยะ
หลังคลอดรก จนถึงระยะ 6-8 สัปดาห์
หลังคลอด
3 ระยะ
ระยะ 1 . Immediate 24 hr after delivery
ทันทีหลังคลอด puerperium immediate) ระยะ 24ชั่วโมงหลังคลอด
ระยะ 2 Early 2-7 days
หลังคลอดระยะต้น puerperium early) วันที่ 2-7วัน
ระยะ 3 Late 2-6 weeks
หลังคลอดระยะปลาย puerperium late) ระยะ 2-6สัปดาห์ หลังคลอด
ระยะหลังคลอดปกติ Puerperium )
Symptoms สั่นเทาคล้ายเป็นไข้ กล้ามเนื้อสั่น ฟันกระทบ
slightly shivering
muscular tremor
Chattering of teeth
Involution
Involution ขบวนการที่
หนทางคลอด มีการเปลี่ยนแปลงเพื่อกลับคืนสู่สภาพปกติเหมือนก่อนตั้งครรภ์
สรีระวิทยา ระยะหลังคลอด
มดลูก (Uterus)
มดลูกอยู่ระดับระหว่างสะดือกับ Public Symphy sis
ต่อมาลดลง ½ 1 ““/ day 10 12 วันจะคลำไม่พบ
size & position
not preg = 50-100 g
หลังคลอดทันที มดลูกอยู่ระดับสะดือ avg. 1000 g
ถ้าสูงกว่า สะดือ : bladder full, blood clot ในโพรงมดลูก
Days after delivery
2 วันหลังคลอดมดลูก
อาการปวดมดลูก (After Pains Pains)
น้าคาวปลา Lochia
•
คือ สิ่งที่ถูกขับออกจากโพรงมดลูกมีฤทธิ์เป็นด่าง
Red
1-3 days Rubra
เลือด เยื่อเมือก เยื่อบุมดลูก (blood, fragments of decidua, and mucus
80 c.c.
อาจมีเลือดก้อนเล็ก ๆ ปนออกมามีกลิ่นคาวเลือด
Pink
4-10 days Serosa
สีน้าตาลอ่อน หรือสีชมพู มีจานวนน้อยลง
Blood, mucus, and invading leukocytes
White
11-15 days Alba
สีขาว (Cream) หรือ เหลืองจางๆ
จานวนน้อยมาก จนค่อยๆหมดไป
น้าหนัก Body condition
จะลดลง 5-8 Kgs เพราะว่า
รก เด็ก นา้ หล่อเด็ก เสียเลือด
ต่อมา จะลดลง 2-3 kgs หรือ
มากกว่า ขนึ้ กับ การออกกา ลัง
กาย อาหาร Breast feeding
ระบบเลือด
ใน 1 สัปดาห์หลังคลอด สารที่เป็น
องค์ประกอบในการแข็งตัวของเลือด (Clotting
factor) ยังคงมีค่าสูงอยู่
จะมีผลเสียถ้าไม่มีการ
เคลื่อนไหว และร่วมกับสภาวะการติดเชอื้ หรือได้รับ
ความชอกชา้ จากการคลอด
กระตนุ้ ให้เกิดหลอด
เลือดอุดตัน (Thromboembolism) ได้ง่าย เช่น
บริเวณขา ป้ องกันโดยการเดิน หรือ การบริหาร
normal labour
การคลอดทางช่องคลอดส่วนใหญ่จะเสียเลือดประมาณ
300-400 มิลลิลิตร
Cesarean Section
การคลอดโดยการผ่าตัดหนา้ ท้องจะเสีย
เลือดประมาณ 500-1,000 มิลลิลิตร
ระยะหลังคลอดมี 3
สิ้นสุดของการไหลเวียนเลือดระหว่างมดลูกกับรก
สิ้นสุดของการผลิตฮอร์โมนจากรก -> ซึ่งเป็ นการหยุดการ
กระตนุ้ ให้หลอดเลือดขยาย
การเคลื่อนย้ายของนา้ นอกเส้นเลือดที่สะสมระหว่างการ
ตงั้ ครรภ์กลับเขา้ เส้นเลือด
Coagulation factors
ขณะตงั้ ครรภ์มีค่าความเขม้ ขน้ ขององค์ประกอบในการแข็งตัวของ
เลือด เพิ่มมากขนึ้ -> จะช่วย
ควบคุมการเสียเลือดบริเวณแผลที่รกเกาะในโพรงมดลูก
ไม่มีการ
เคลื่อนไหว จะเป็ นปัจจัยส่งเสริมให้เกิดภาวะหลอดเลือดดา อุดตัน
(Thromboembolism) ได้ง่าย
ระบบกล้ามเนื้อและโครงกระดกู
1-2 วันแรกมารดาหลังคลอดจะมีอาการ
เมอื่ ยและปวดกล้ามเนอื้ เนอื่ งจากออกแรงเบ่งขณะคลอด
และฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนลดลงหลังคลอด
ยังคงเจ็บปวดบริเวณตะโพกและ
ขอ้ ต่อ อาการปวดดังกล่าวจะเป็ นชัว่ คราวเท่านนั้ ไม่ตอ้ งใช้
ยารักษา
ระบบประสาท
หญิงคลอดทางช่องคลอดอาจได้รับยาแก้ปวด
หรือยาชา และภายใน 24 ชัว่ โมงหลังคลอด -> กลับสู่สภาพเดิมเมื่อฤทธิ์ยาถูกเผาผลาญและ
กาจัดออกจากร่างกาย
ความไม่สุขสบายที่เกิดขนึ้ เช่น อาการปวด
หลัง จะลดลงในช่วงหลังคลอด
ระบบภมู ิค้มุ กัน
ภาวะภูมิคุ้มกันต่อปฏิกิริยาการไม่เขา้ กันของหมู่เลือด
(Blood-type incompatibilities)
ทา ให้เกิด
เม็ดเลือดแดงแตกในระดับเล็กนอ้ ยจนถึงปานกลาง
ทารก
จะแสดงอาการตัวเหลืองภายใน 24 ชัว่ โมงหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก
at delivery
ปากมดลูกเปลี่ยนจากกลมเป็นฉีกขวาง (ปากยิ้ม)
Bottom Vagina Outlet Outlet ฝีเย็บ Labia ( อวัยวะสืบพันธ์ภายนอก)
ตัดฝีเย็บ เพื่อให้เปิดช่องทางออกให้กว้างขึ้น
ขาด -> เย็บซ่อม
Slight tear tearคือฉีกขาด
Old tear แผลเก่า รอยฉีกขาดจากครรภ์ก่อน (คราวนี้ไม่มีแผล แสดงว่าเป็นท้อง 2 ขึ้นไป)
แผลฝีเย็บไม่ควรอักเสบ ถ้าดูแลดีจะหายภายใน 5 วัน
Episiotomy คือ การตัดบริเวณฝีเย็บ
เพื่อขยายปากช่องคลอดซึ่งจะทาในระยะคลอดโดยแพทย์หรือพยาบาลผดุงครรภ์ผู้ทาการช่วยคลอด
Incision direction
12 นาฬิกา
Symphysis pubis หัวหน่าว
6 นาฬิกา
median incision
3
4-5 Left medio lateral
9
7-8 Right medio lateral
Benefit
ลดการเกิด Third/Fourth degree tears
•
ง่ายต่อการซ่อมแซมแผลฝีเย็บและการหายของบาดแผลดีขึ้น
•
ป้องกันความเสียหายต่อกล้ามเนื้อที่ Pelvic floor
Adverse effects of Episiotomy
มีการฉีกขาดเพิ่มหลังจากตัดแผลฝีเย็บ ทาให้เกิด Third/Fourth
degree tears ตามมา
รอยฉีกขาดของฝีเย็บ- Degree
1st
ฉีกขาดของผิวหนังบริเวณฝีเย็บ และ
เยื่อบุช่องคลอดแต่ไม่ถึงชั้น fascia
2nd
ฉีกขาดของ fascia
และชั้นกล้ามเนื้อแต่ไ
ม่ถึงรูหูรูดของทวารหนัก
3rd
ฉีก
ขาดของรู
หูรูด
ของทวารหนักร่วมด้วย (anal sphincter)
4th
ฉีกขาดถึงบริเวณทวารหนัก
(rectum) หรือเยื่อบุลำไส้ใหญ่ส่วนล่าง หรือท่อปัสสาวะร่วม
Right Medio
lateral
Episiotomy
เย็บ cat gut
continuous (เย็บเป็นวง)
ประจำเดือน (Menstruation) Follicle Stimulating
Follicle Stimulating
Hormone จะลดลง ใน 10 12 วัน จะเพิ่มขึ้นประมาณ สัปดาห์ที่ 3 หลังคลอด
Breast feeding : เลื่อนประจาเดือนและการตกไข่ จะตกไข่ประมาน 66เดือน เร็วประมาณ 3 เดือน เพราะว่า Prolactin จะกด Pituitary gonadotropin]
บางราย เพราะว่า รังไข่ไม่สนองต่อการกระตุ้น Follic le
stimulating Hormone Hormoneให้เกิดNonlactationNonlactationจะมีตกไข่เร็วที่สุด 27 วัน
เต้านม
กลไกการหลั่งน้านม
Temperature
วัดทางปากซึ่งเรียกว่า reactionary fever
หลังคลอด 24 ชั่วโมง จะเพิ่มขึ้นไม่เกิน 38oc
(100.4o F)
Pulse
ชีพจร ชีพจรมักช้าลงอยู่ระหว่าง 60-70 ครั้ง/นาที หรือ
บางครั้งอาจจะช้าถึง 40-50 ครั้ง/นาที ใน 1-2วันแรกหลังคลอด
BP
ไม่เกิน 130/90
mm Hg
ถ้าสูงมากกว่า 140/90 mmHg อาจเป็ น
Pre-eclampsia
Respiration
16-24 ครงั้ /นาที
ทางเดินปัสสาวะ
Renal Function
1 . หลังคลอด ไตทางานน้อยลง เพราะว่า Hormone
ลดลง ทาให้Blood Urea nitrogen เพิ่มขึ้น จากการที่มีการแตกตัวของใยกล้ามเนื้อของมดลูก
Glumerular filtration ที่เพิ่มขึ้น ตั้งแต่ Pregnanc y ยังคงอยู่ ทาให้ ภายใน 12 ชั่วโมงทาให้ ถ่ายปัสสาวะมาก
Bladder
Bladder บวมแดง (อาจมีเลือดออกใน SubmucosaSubmucosa)
Bladder
ความจุเพิ่มขึ้น หลอดไต กรวยไต ขยาย จะกลับสู่ปกติ ใน 2 3 wks
Bladder โป่ง ถ่ายปัสสาวะ ไม่หมด และพบ Infection ได้บ่อย
ระยะหลังคลอด
Bottom
ริดสีดวงทวาร จากการที่ ลาไส้ถูกเบียด และเคลื่อนไหวช้า ขณะตั้งครรภ์ และ ขณะคลอด
การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตสังคม
Blue-หดหู่
Postpartum blue
ช่วง 2 3 วัน จะวิตกกังวล สับสน เกี่ยวกับ ตนเอง ลูก การแสดงออก อาจมีอาการ นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร ร้องไห้ง่าย
การปรับตัวของมารดามี 3 ระยะ
พฤติกรรมพึ่งพา (Taking in Phase) 1-2 days
ใช้เวลา 1 2 วัน เป็นระยะที่มารดาหลังคลอด จะมุ่งความสนใจไปที่ตนเอง และ ต้องการพึ่งพาผู้อื่นสูง
สนใจแต่ความต้องการและ ความสุขสบายของตนเองมากกว่าที่จะนึกถึงบุตร
พึ่งพาและไม่พึ่งพา (Taking Hold
Phase) 3-10 days
ใช้เวลาประมาณ 3-10 วัน สนในตนเองน้อยลงและสนใจบุตรมากขึ้น มารดาจะพึ่งพาตนเองมากขึ้น
การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตสังคม (Reva Rubin)
ระยะอิสระ (Interdependent phase หรือ
Letting
go phase)
หลังวันที่ 10 ของการคลอด มารดาจะเริ่มมี
ปฏิสัมพันธ์กับสังคมโดยในส่วนลึกของจิตใจยังห่วงใยบุตร
ประคับประคองความร้สูึกของมารดา
ให้คา ปรึกษา ช่วยให้มารดาร้สูึกปลอดภัยและอบอุ่นในการ
เขา้ สังคม และแสดงบทบาทมารดาอย่างเหมาะสม
ปรับตัว 2 ประการ
(1) ตระหนักและยอมรับ
ความจริงว่าทารกไม่ได้เป็ นส่วนหนงึ่ ของร่างกายตนเองอีก
ต่อไปแล้ว แต่แยกออกไปเป็ นอีกบุคคลหนงึ่
(2) ต้องทิ้ง
บทบาทเดิมที่เป็ นอิสระ ไม่มีบุตรต้องค่อยห่วง ระยะนมี้ ารดา
อาจร้สู ึกเสียใจหรือเครียดเล็กนอ้ ยได้
ทำได้แล้ว ไ่ม่พึ่งพา
(2) ภาวะอารมณ์เศรา้ หลังคลอด (Postpartum blue)
พบในระยะ 3-4 วันแรกหลังคลอด
ฮอร์โมนที่ลดตา่ ลงมากใน 3-5 วันแรกหลังคลอด
มีความไม่สุขสบาย เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย
พักผ่อนไม่เพียงพอ
ร้สู ึกว่าตนเองสูญเสียความสา คัญโดยเฉพาะสามแี ละผู้เกี่ยวขอ้ ง
Postpartum blue
เชื่อว่าเป็นภาวะ
ปกติจึงไม่จา เป็ นต้องการรักษา สามารถหายเองได้
แต่อย่างไรก็ตาม
ต้องประคับประคองให้เกิดความสุขสบาย
ทางด้านร่างกาย และจิตใจ
ให้ความมัน่ ใจกับมารดาหลังคลอดว่าอาการนเี้ ป็ นภาวะ
ปกติ
ให้ขอ้ มูลความร้เู กยี่ วกับการดแู ลทารก
สามีและครอบครัวต้องให้กา ลังใจ
Bonding & attachment
การสร้างความผูกพัน ระหว่างแม่และลูก
มารดาจะค่อยๆสร้างความผูกพัน ระหว่างแม่และลูก ขึ้น รู้สึกลึกซึ้งและคุ้นเคย โดยให้ไกล้ชิดกันมากๆ
ระบบผิวหนังBody condition
ฮอร์โมนเอสโตรเจน และ โปรเจสเตอโรน
ลดลง
ฝ้าบริเวณใบหน้า (Chloasma gravidarum) จะจางหายไป
Areola (ลานนม) จะเข้มขึ้น
Linea nigra
(เส้นกลางหน้าท้อง) จะเข้มขึ้นและหายไปช่วงหลังคลอดได้
ร่างกายขับน้าออกทางผิวหนัง
จานวนมาก จะขับเหงื่อในเวลากลางคืน
ตื่นมาเหงื่อท่วมตัว
อาจรบกวน
การนอน และอาจเป็นสาเหตุของอาการไม่สุขสบาย
และ
อาการหนาวสั่น
หน้าท้อง(Abdominal
ยืดมากตอนท้อง การกลับสู่สภาพเดิมใช้เวลานาน การออกกาลังกายช่วยให้เร็วขึ้น
อาจพบ รอยแตกของผิวหนังเป็นทางขวาง
(Striae
gravidarum) จะจางแต่ไม่หายไป
รอยแยกตัวของกล้ามเนื้อ
Rectus (Diastasis Recti) ซึ่งอยู่ตรงกลาง ลักษณะ หย่อน นุ่ม
เพราะเสียความยืดหยุ่นเนื่องจากยืดขยายนาน
Temperature
การเผาผลาญ
ระบบทางเดินอาหาร Bowel
movement
การเปลี่ยนแปลง - มารดาหลัง
อยากรับประทานอาหารลดลง
เนื่องจากความเหนื่อยอ่อนเพลียจากการ
คลอด
เมื่อได้
พักผ่อนเต็มที่ แล้วจะมีความอยาก
รับประทานอาหารมากขึ้น
ทำให้ท้องผูก
การสูญเสียนา้ และการ
ถูกจา กัดอาหารในระหว่างการคลอด
งเจ็บปวดบริเวณแผล
ฝี เย็บและริดสีดวงทวาร ทา ให้ไม่กล้าเบ่งถ่ายอุจจาระ
วันที่ 2-3 หลังคลอดจึงจะกลับสู่สภาวะปกติ
Because เสียน้ำทางเหงื่อ ขณะคลอด
ได้อาหารลดลง หรือ NPO, นอนพักบนเตียง
ระยะแรกหลังคลอดการ
เคลื่อนไหวของลา ไส้ลดลงจากผลของฮอร์โมน โป
รเจสเตอโรนในขณะตงั้ ครรภ์
Cause: เนอื่ งจาก
ความดันในช่องท้องลดลงทันที (คลอดทากรก คลอดรกออกไป > เกิดช่องว่าง) การตอบสนองต่อระบบประสาท ความเหนอื่ ยล้าจากการ
คลอดและความไม่สมดลุ ของอุณหภมู ิภายในและภายนอก
ร่างกาย (แต่ละครงั้นานไม่เกิน 15 นาที)
หลังคลอดอาจเกิดภาวะอุณหภูมิร่างกายต่ำกว่าปกติ (Hypothermic reaction) ทำให้เกิด
อาการหนาวสั่นหลังคลอด
(Postpartum chill)
Reactionary fever มีไขจ้ ากการตอบสนองของร่างกาย
24 ชัว่ โมงแรกหลังคลอดสูงขนึ้ เล็กนอ้ ย แต่จะไม่เกิน
38 องศาเซลเซียส
*แต่ถ้าหลังจาก 24 ชัว่ โมงแรกหลังคลอดไปแล้วมีอุณหภมู ิ
สูงกว่า 38 องศาเซลเซียส
Milk fever
ประมาณวันที่ 3-4 หลังคลอด อุณหภมูิอาจสูงขนึ้ เล็กนอ้ ย
จากเตา้ นมคัดตึง
Puerperal fever
38 องศาเซลเซียส ซึ่งปรากฏอยู่อย่างนอ้ ย 2
วัน และตอ้ งวัดอุณหภมู ิทางปากอย่างนอ้ ยวันละ 4 ครงั้ จึงจะถือว่ามี
ไขห้ ลังคลอด (Puerperal fever) เนอื่ งจากการติดเชอื้
Hormone
หลัง 24 ชวั่ โมงหลังคลอด
ฮอร์โมนจากรกจะ
ลดลงอย่างรวดเร็ว ตรวจไม่พบฮอร์โมน HPL, HCS
แต่ HCG จะมีระดับต่า
ภายใน 3 ชวั่ โมงหลังคลอด
ฮอร์โมนเอสโตรเจน
จะลดลงเรอื่ ยๆและจะลดลงต่าสดุ ในวันที่ 7 หลัง
คลอด
ประมาณ 1 สัปดาห์
จะตรวจไม่พบโปรเจสเตอ
โรนในซีรัม และจะผลิตใหม่อีกครงั้ เมื่อมีการตกไข่
ครงั้ แรก
ระบบต่อมไร้ท่อ
Hormone
หลังคลอดระดับของฮอร์โมนจากรกใน พลาสมาจะ
ลดลงอย่างรวดเร็ว
ประมาณปลายสัปดาห์แรกหลังคลอดระดับของ
ฮอร์โมน Human Chorionic Gonadotropin : HCG จะ
ลดลง ดังนนั้ ถ้าทดสอบปัสสาวะจึงได้ผลลบ
ภายใน 24 ชัว่ โมงหลังคลอดจะ
ตรวจไม่พบ Human Placental Lactogen : HPL ,
Human Chorionic Somatomammotropin: HCS
ฮอร์โมนจากรก (Placental hormones)
Estrogen
(Estrogen) จะลดลงรอ้ ยละ 10 ภายใน
3 ชวั่ โมงหลังคลอด
ระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนจะ
กลับคืนส่รู ะดับปกติช้ากว่าหญิงที่ไม่ได้เลี้ยงบตุ รด้วยน้านม
ตนเอง
Progesterone
วันที่ 3 หลังคลอด และ1 สัปดาห์หลัง
คลอดจะตรวจไม่พบในซีรมั่ และจะมีการผลิตใหม่
อีกครงั้ เมื่อมีการตกไข่ครงั้ แรกหลังคลอด
จะมีการผลิตใหม่
อีกครงั้ เมื่อมีการตกไข่ครงั้ แรกหลังคลอด
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง (Pituitary hormones)
Prolactin
ตลอดระยะการตงั้ ครรภ์ระดับฮอร์โมน prolactin ในเลือดจะ
เพิ่มขนึ้
ภายหลังคลอดมารดาที่ไม่เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาระดับ
prolactin จะลดลงเท่ากับระดับก่อนตงั้ ครรภ์ภายใน 2 สัปดาห์หลัง
คลอด
มารดาที่เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาการดดู นมของทารกจะทา
ให้ระดับ prolactin เพิ่มขนึ้
ขนึ้ อยู่กับการเลี้ยงดูบุตรด้วย
นมมารดา ถ้ามารดาให้บุตรดดู นมวันละ 1-3 ครงั้ /วนั จะ
ทา ให้ฮอร์โมน Prolactin จะคงอยู่ในกระแสเลือดระดับปกติ
Other hormones
Insulin
ลดลงของ insulinase ซึ่งเป็นปัจจัยต่อตา้ นอินสุลิน (Anti
insulin factors)
มารดาหลังคลอดจึงมีระดับนา้ ตาลในเลือดตา่
ภายในสัปดาห์แรกหลังคลอด
มารดาหลังคลอดที่เป็นเบาหวานก็
ตอ้ งการ insulin ตา่ ลง
Thyroid
ต่อมไทรอยด์จะกลับสู่ภาวะปกติเหมือนตอนไม่ตงั้ ครรภ์ภายใน 6
สัปดาห์หลังคลอด
Corticosteroid
ระดับของฮอร์โมน Corticosteroid ในพลาสมาก็จะลดลงสู่ระดับปกติ
ในช่วงปลายสัปดาห์แรกหลังคลอด
Vocab Review
การบันทึกข้อมูลการตั้งครรภ์
G=Gravida : จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์
P=Para : จำนวนครั้งของการคลอด
A=Abortion : จำนวนครั้งของการแท้ง
L=Living จำนวนบุตรที่มีชีวิตอยู่