Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีในระยะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การพยาบาลสตรีในระยะตั้งครรภ์
3.1 การเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคมของหญิงตั้งครรภ์
การเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์
ระยะไตรมาสแรก จะมีความรู้สึกสองฝักสองฝ่าย (ambivalence)
ระยะไตรมาสที่สอง เริ่มยอมรับการตั้งครรภ์มากขึ้น จากการดิ้นของทารกในครรภ์
ระยะไตรมาสที่สาม หญิงตั้งครรภ์จะเริ่มกลัวและวิตกกังวลเกี่ยวกับการคลอดมากขึ้น
การหมกมุ่น คิดถึงแต่ตนเอง (introversion)
อารมณ์แปรปรวน (emotional lability)
การเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ (body image)
ระยะไตรมาสแรก การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายยังปรากฏไม่ชัดเจนจึงทําให้มีการเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์น้อย
ระยะไตรมาสที่สอง ระยะนี้มีการเปลี่ยนแปลงของร่างกายมากขึ้น
ระยะไตรมาสที่สาม รู้สึกว่าร่างกายเปลี่ยนแปลงมากขึ้นเกิดความไม่คล่องตัว
การเปลี่ยนแปลงด้านเพศสัมพันธ์
ระยะไตรมาสแรก หญิงตั้งครรภ์อาจมีความรู้สึกทางเพศลดลง
ระยะไตรมาสที่สอง หญิงตั้งครรภ์จะมีความรู้สึกทางเพศเพิ่มขึ้นและร่างกายมีการตอบสนองทางเพศดีขึ้น
ระยะไตรมาสที่สาม ในระยะนี้รูปร่างของหญิงตั้งครรภ์จะเปลี่ยนแปลงมากขึ้น
การปรับตัวเข้าสู่บทบาทการเป็นมารดา
พัฒนกิจขั้นที่ 1 การสร้างความมั่นใจและยอมรับการตั้งครรภ์(pregnancy validation)
พัฒนกิจขั้นที่ 2 การมีตัวตนของบุตร และรับรู้ว่าบุตรในครรภ์เป็นส่วนหนึ่งของตน (fetal embodiment)
พัฒนกิจขั้นที่ 3 การยอมรับว่าทารกเป็นบุคคลคนหนึ่งที่มีบุคลิกภาพที่แตกต่างไปจากตน (fetal distinction)
พัฒนกิจขนั้ ที่ 4 การเปลี่ยนบทบาทการเป็นมารดา (role transition)
การปรับตัวต่อบทบาทการเป็นบิดา
ไตรมาสแรก เมื่อทราบว่าภรรยาตั้งครรภ์ สามีจะประกาศการตั้งครรภ์ให้กับญาติพี่น้องและเพื่อนฝูง
ไตรมาสที่สอง ระยะนี้บิดาใหม่ยังไม่มีบทบาทที่ชัดเจน
ไตรมาสที่สาม เป็นระยะที่สามีจะมีการเตรียมการและคาดการณ์เกี่ยวกับการคลอดเป็นช่วงที่สามีและภรรยาจะ ช่วยกันเตรียมของใช้ต่างๆ
3.2 การวินิจฉัยการตั้งครรภ์
อาการที่สงสัยว่าจะตั้งครรภ์ (Presumptive signs)
ขาดประจําเดือน (Amenorrhea)
อาการแพ้ท้อง (Nausea and vomiting)
การเปลี่ยนแปลงของเต้านม (Breast changes)
การเปลี่ยนแปลงของผิวหนัง (Skin changes)
ปัสสาวะบ่อย (Urinary frequency)
อ่อนเพลีย (Fatigue)
มารดารู้สึกเด็กดิ้น (quickening)
อาการที่แสดงว่าน่าจะตั้งครรภ์ (Probable signs)
ท้องโตขึ้นหน้าท้องขยายใหญ่ (abdominal enlargement)
การเปลี่ยนแปลงของรูปร่าง ขนาด และความนุ่มของมดลูก (Changes in the uterus)
มีการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก (cervical changes)
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก (Braxton Hicks contraction)
Ballottement เนื่องจากมดลูกนุ่ม และทารกลอยอยู่ในน้ําคร่ำ (liquor amnio)
คลําได้ขอบของทารก (outlining)
ผลการทดสอบทางฮอร์โมนให้ผลบวก (positive pregnancy test)
อาการแสดงตั้งครรภ์แน่นอน (positive signs)
ตรวจพบการเต้นของหัวใจทารก (fetal heart sound)
ตรวจพบการเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์ (fetal movement and fetal part)
ตรวจพบทารกโดยภาพรังสี (roentgenogram)
การตรวจพบทารกโดยวีรีของคลื่นเสียงความถี่สูง (ultrasonography)
3.3 การประเมินภาวะสุขภาพมารดา- ทารก และการคัดกรอง
การซักประวัติ
การซักประวัติข้อมูลทั่วไป
อายุ (อายุที่เหมาะสมกับการตั้งครรภ์คือ 20-30ปี)
ระดับการศึกษา
อาชีพ
สภาพสมรส
ฐานะทางเศรษฐกิจ
เจตคติต่อการตั้งครรภ์
ความเชื่อที่ผิด
การใช้ยาและสิ่งเสพติด
ประวัติครอบครัว
โรคทางกรรมพันธุ์
ประวัติความเจ็บป่วยในอดีต
โรคระบบอวัยวะสืบพันธุ์สตรี
อุบัติเหตุหรือโรคกระดูกเชิงกราน
ประวัติการเจ็บป่วยของระบบอื่นๆ
การซักประวัติข้อมูลเกี่ยวกับการตั้งครรภ์และการคลอด
ความเป็นไปของการตั้งครรภ์การคลอดครั้งก่อนๆ
วิธีคลอดในครรภ์ก่อน
การเจ็บป่วยหรือการตายของทารกหลังคลอด
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบันและประวัติระดู
ประวัติการคุมกําเนิด
ประวัติอาการผิดปกติของการตั้งครรภ์
ประวัติระดู
การคาดคะเนกําหนดวันคลอดและการคํานวณอายุครรภ์
การคะเนกําหนดวันคลอด Expected date of confinement: EDC
การคํานวณอายุครรภ์หรือระยะเวลาของการตั้งครรภ์ (Gestational Age: GA) เป็นสัปดาห์
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไปโดยการดูคลํา เคาะ ฟังตรวจอย่างละเอียดตั้งแต่ศีรษะจรดเท้าทั้งด้านหน้าและ ด้านหลัง
สังเกต สีหน้า ท่าเดิน การแต่งกายและรองเท้า
การวัดส่วนสูง
การชั่งน้ําหนัก
ไตรมาสแรก น้ําหนักเพิ่มประมาณ 1-2.5 กก.
ไตรมาสที่สอง น้ําหนักเพิ่มอีกประมาณ 5 กก.
ไตรมาสที่สาม เพิ่มอีก 5 กก.
ช่วงไตรมาสสองและสามน้ําหนักควรเพิ่ม 0.4-0.5กก./สัปดาห์ ถ้าเพิ่มมากกว่า 0.5กก./สัปดาห์ ถือว่าเพิ่ม ผิดปกติ (อาจจะมีบวม)
ถ้าอายุครรภ์มากกว่า20 สัปดาห์ มีน้ําหนักเพิ่ม1กก.ต่อสัปดาห์ มักมีอาการบวมร่วมด้วย
การตรวจร่างกายตามระบบ
เยื่อบุตา ปาก เหงือก ฟันถ้ามีฟันผุควรส่งพบทันตแพทย์เพื่อรักษา
ลําคอ ตรวจต่อมไทรอยด์
ทรวงอก ควรตรวจหัวใจและปอด เต้านม หัวนม
การตรวจหัวนมหัวนมสั้นหรือหัวนมบอด แบน(flat) บุ๋ม(inverted nipple)
การตรวจเชิงกราน(Pelvic examination)
การตรวจครรภ์
การดู (Inspection)
ลักษณะและขนาดของมดลูก ถ้ามีขนาดใหญ่มากอาจมีความผิดปกติ
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้อง
ดูการเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์
การคลํา (Palpation) การตรวจครรภ์วิธี Leopold Handgrip
ท่าที่ 1.First Leopold Handgrip, First maneuver, Fundal grip
ท่าที่ 2 Second Leopold Handgrip, Second maneuver or Umbilical grip เป็นการคลําหลังของทารก ว่าอยู่ทางด้านใดของลําตัวมารดา
ท่าที่ 3 Third Leopold Handgrip (maneuver) (Pawlik’s grip) เปน็ การตรวจเพื่อหาส่วนนํา และระดับส่วนนํา ของทารก
ท่าที่ 4 Fourth Leopold Handgrip (Bilateral Inguinal grip) คือการตรวจเพื่อหาระดับส่วนนํา และตรวจหา ส่วนนําว่าเปน็ หัว หรือ ก้น
การฟัง (Auscultation)
การฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์ (Fetal heart sound, FHS)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือด
ความเข้มข้นของเลือด
การตรวจหาหมู่เลือด
การตรวจน้ําเหลืองสําหรับโรคซิฟิลิส
การตรวจหาเชื้อไวรัสเอดส์ (ANTI – HIV, ELISA)
การตรวจหาเชื้อไวรัสตบั อักเสบ บี (Hepatitis B virus: HBV)
การตรวจปัสสาวะ
การตรวจน้ําตาลในปัสสาวะ
การตรวจไข่ขาวในปัสสาวะ
การประเมินภาวะสุขภาพทารก
การตรวจนับจํานวนเด็กดิ้น (Fetal movement count : FMC)
การตรวจนอน สเตรส เทสท์ (Non stress test: NST)
การตรวจ คอนแทรกชั่น สเตรส เทสท์ (Contraction stress test : CST)
ฟีตัล ไบโอ ฟิซิคัล โปรไฟล์ (Fetal Biophysical profile : BPP)
การประเมินภาวะครรภ์เสี่ยงสูง (High Risk Pregnancy)
การนัดตรวจติดตาม
การส่งเสริมภูมิคุ้มกันโรคในหญิงตั้งครรภ์
3.4 การส่งเสริมสุขภาพมารดาขณะ ตั้งครรภ์
การให้คําแนะนําในไตรมาสที่ 2
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างของหญิงตั้งครรภ์
อาการแสบร้อนยอดอก
ลูกดิ้น
หน้ามืดเป็นลม
ท้องอืด
ท้องผูก
ริดสีดวง
อาการปวดหลัง
การออกกําลังกายที่เหมาะสมสําหรับหญิงตั้งครรภ์
ท่ากระดกข้อเท้า
ท่ายกก้น
ท่านอนตะแคงยกขา
ท่าแมวขู่
ท่านั่งเตะขา
ท่ายืนเตะขาด้านหลัง
ท่ายืนเตะขาด้านข้าง
การดูแลผิวหนัง
การดูแลเต้านม
ควรทําความสะอาดบริเวณหัวนมด้วยน้ําสะอาดทุกวัน
ถ้าหัวนมมีความผิดปกติ เช่น หัวนมบุ๋ม ให้แก้ไขด้วยวิธีHoffman’smaneuver
ใส่ยกทรงที่ถูกต้อง คือมีขนาดที่เหมาะสมกับเต้าและสามารถรองรับน้ําหนักเต้าทรงได
การให้คําแนะนําในไตรมาสที่ 3
พัฒนาการของทารกในครรภ์
การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายของคุณแม่
โภชนาการและการให้ยา
การฝึกทางด้านจิตใจ โดยการเพ่งจุดสนใจ (focal point), การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ (muscle
relaxation), การหายใจ (breathing technique), การลูบหน้าท้อง (effleurage technique)
การให้คําแนะนําในไตรมาสที่ 1
ด้านโภชนาการในระยะตั้งครรภ์
ด้านการออกกําลังกาย
ด้านการมีเพศสัมพันธ์
3.5 การเตรียมตัวเพื่อการเลี้ยงลูกด้วยนม แม่
การเตรียมตัวให้นมบุตร
การดูแลหัวนม / เต้านม ควรล้างหัวนมด้วยน้ําสะอาดไม่ควรถูด้วยสบู่อย่างแรง
การคลึงหัวนม (Nipple rolling)
การนวดเต้านม (Massaging breasts)
การขับน้ํานมเหลืองด้วยมือ (Manual expression of colostrums)
อาการเจ็บครรภ์จริง (True labor pain)
ลักษณะการเจ็บครรภ์
สม่ำเสมอและเป็นจังหวะ
อาการเจ็บรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ ตามลําดับ
อาการเจ็บสัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก
เริ่มเจ็บบริเวณหลังร้าวมาถึงหน้าท้อง
เมื่อได้รับยาแก้ปวดอาการเจ็บครรภ์ก็จะไม่หายไป
ปากมดลูกมีการเปิดขยายและสั้นบางลง
มีมูกหรือมูกปนเลือดออกทางช่องคลอด
ไม่สม่ำเสมอ
อาการเจ็บคงเดิมหรือลดน้อยลง
ไม่สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก
เจ็บเฉพาะบริเวณหน้าท้อง/ท้องน้อย
อาการเจ็บหายไปเมื่อได้รับยาแก้ปวด
ไม่มีการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก
ไม่มีมูกหรือมูกปนเลือดออกทางช่องคลอด
3.6 การกระตุ้นพัฒนาการของทารก ในครรภ์
การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
เดือนที่ 1
ตัวอ่อนยาวประมาณ 4- 5 มิลลิเมตร ตัวอ่อนในระยะนี้จะมีส่วนของศรีษะ และหางที่มองเห็น
ได้ชัด มีตุ่มที่จะงอกไปเป็นแขนขา
เดือนที่ 2
ตัวอ่อนยาวประมาน 4 เซนติเมตร หัวโต มีแขนขาเป็นตุ่มเล็กๆ หัวใจเต้นชัดเจน
เดือนที่ 3
ตัวอ่อนยาวประมาน 6-7 เซนติเมตร เริ่มมีหัวแม่มือ และนิ้วอื่นๆ และกําลงสร้างอวัยวะเพศ ภายใน
เดือนที่ 4
ทารกมีความยาว 12 เซนติเมตร หนัก 110 กรัม อวัยวะต่างๆ พัฒนาเกือบครบทุกระบบ อวัยวะเพศสมบูรณ์ แต่ยังเห็นไม่ชัดด้วยอัลตร้าซาวนด์
เดือนที่ 5
ทารกมีความยาวประมาณ 16-18 เซนติเมตร หนัก ประมาณ 300 กรัม ระยะนี้ทารกจะเริ่มดิ้น และเคลื่อนไหวบ่อยๆ
เดือนที่ 6
ทารกยาว 32 เซนติเมตร น้ําหนัก 650 กรัม ปอดเริ่มทํางาน เปลือกตาเริ่มเปิดได้ เริ่มได้ยิน เสียง มีลายนิ้วมือ นิ้วเท้า
เดือนที่ 7
ทารกยาว 25 เซนติเมตร น้ําหนัก 1100 กรัม ผิวหนังสีแดง มีไขปกคลุม
เดือนที่ 8
ทารกยาว 28 เซนติเมตร น้ําหนัก 1800 กรัม ผิวหนังสีแดง และย่น
เดือนที่ 9
ทารกยาว 32 เซนติเมตร น้ําหนัก 2600 กรัม เป็นช่วงที่ทารกเติบโตเต็มที่ ผิวหนังจะเรียบ ปอด
ทํางานได้สมบูรณ์เต็มที่
ด้านการรับความรู้สึก
เริ่มเมื่ออายุครรภ์ 20 สัปดาห์ขึ้นไป ลูบสัมผัส
ด้านการได้ยิน
เริ่มเมื่ออายุครรภ์ประมาณ 24 สัปดาห์ขึ้นไป โดยการใช้เสียงของมารดาพูดคุยกับทารกใน ครรภ์ และเล่านิทานให้ทารกในครรภ์ฟัง
ด้านการมองเห็น
เริ่มเมื่ออายุครรภ์ 24 สัปดาห์ขึ้นไป
เคลื่อนไฟฉายจากซ้ายไปขวา หรือการเปิดและปิดไฟฉายเป็นจังหวะ
ขณะปฏิบัติควรอยู่ในห้องที่มืด โดยให้มีแต่แสงไฟฉาย ซึ่งจะทําให้ทารกเห็นแสงได้ดียิ่งขึ้น
ควรทําเมื่อทารกในครรภ์ดิ้น เพราะจะทําให้ทารกในครรภ์เกิดการเรียนรู้ได้ดี และพร้อมที่จะเล่นกับมารดา
ขณะปฏิบัติกิจกรรมนี้ อาจจะพูดคุยกับทารกไปด้วย เช่น แม่จะส่องไฟที่ลูกนะ ลูกเห็นไหม
กระตุ้นพัฒนาการและการนับลูกดิ้น
3.7 การเตรียมตัวเพื่อการคลอดและการ เตรียมบทบาทการเป็นบิดา มารดา/การ สร้างสัมพันธภาพบิดา-มารดา-ทารกใน ระยะตั้งครรภ์
การเตรียมตัวเพื่อการคลอด
การหายใจ (breathing technique)
แบบแผนการหายใจแบบช้า
แบบแผนการหายใจแบบเร็วและเบา
แบบแผนการหายใจแบบตื้นและเป่าออก
แบบแผนการหายใจเพื่อเบ่งคลอด
การลูบหน้าท้อง (effleurage technique)
แบบใช้สองมือ โดยผู้คลอดวางอุ้งมือทั้ง 2 ข้างเป็นรูปตัว V เหนือหัวเน่าให้ปลายนิ้วกลางชนกันตรงกึ่งกลางหัวเหน่า
แบบใช้มือเดียว โดยผู้คลอดวางมือข้างหนึ่งบนหน้าท้อง แล้วลูบวนตามเข็มนาฬิกา
การสร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารกในครรภ์
ด้านมารดา
มารดาที่สามารถสร้างความผูกพันกับทารกได้ตั้งแต่ระยะเริ่มต้นการตั้งครรภ์นั้น จะทําให้ มารดาสามารถกระทําพัฒนกิจในระยะตั้งครรภ์ได้อย่างเหมาะสม
ด้านทารก
ทารกที่ได้รับความรู้สึกผูกพันจากมารดาในขณะตั้งครรภ์จะได้รับความรักความห่วงใย เอาใจ ใส่ ปกป้องอันตรายจากมารดาเป็นอย่างดี
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างความผูกพันระหว่างหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
ปัจจัยด้านหญิงตั้งครรภ์
วุฒิภาวะทางอารมณ์
เจตคติและความต้องการตั้งครรภ์
ความคาดหวังในเพศของบุตร
เศรษฐานะและสังคม
การมีปฏิสัมพันธ์กับคนใกล้ชิด
ปัจจัยด้านการสนับสนุนจากคู่สมรสขณะตั้งครรภ์
คู่สมรสส่วนใหญ่มุ่งที่จะให้มีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันและต้องการสนับสนุนช่วยเหลือกัน แต่ในการอยู่ร่วมกัน ในช่วงชีวิตครอบครัวอาจจะมีช่วงเวลาที่ทําให้เกิดภาวะเครียดต่อคู่สมรสได้
3.8 การดูแลด้านจิตสังคมของหญิง ตั้งครรภ์
ระยะของการตั้งครรภ์ไตรมาส 1
ลักษณะการเปลี่ยนแปลง
ความไม่แน่ใจ (uncertainty) และความรู้สึกก่ำกึ่ง (ambivalence)
ความรู้สึกเสียใจ (grief)
ความกลัวและการเพ้อฝัน (fear and fantasies)
อารมณ์แปรปรวน (mood swing)
ความสนใจและความต้องการทางเพศ (changes in sexual desire)
ระยะของการตั้งครรภ์ไตรมาส 2
ลักษณะการเปลี่ยนแปลง
การยอมรับการตั้งครรภ์ (acceptance of pregnancy)
รักและใส่ใจตนเอง (narcissism and introversion)
การรับรู้ภาพลักษณ์ (body image and boundary)
ความสนใจและความต้องการทางเพศ (change in sexual desire)
ระยะของการตั้งครรภ์ไตรมาส 3
ลักษณะการเปลี่ยนแปลง
ความเครียด (stress)
ความสนใจและความต้องการทางเพศ (change in sexual desire)
การเปลี่ยนแปลงทางด้านภาพลักษณ์ของหญิงตั้งครรภ์ในแต่ระยะของการตั้งครรภ์
ระยะของการตั้งครรภ์ไตรมาส 1
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายยังไม่ปรากฏชัดเจน หญิงตั้งครรภ์จึงไม่รู้สึกต่อการเปลี่ยนแปลง
ระยะของการตั้งครรภ์ไตรมาส 2
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายมากขึ้นหญิงตั้งครรภร์ ู้สึกต่อการเปลี่ยนแปลง
ของร่างกาย
ระยะของการตั้งครรภ์ไตรมาส 3
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายมากขึ้น รู้สึกเคลื่อนไหวไม่สะดวก ผิวหนัง บริเวณ หน้าท้องและเต้านมแตกทํา ให้รู้สึกอับอาย มีความรู้สึกทางด้านลบต่อ ภาพของตนเองมาก
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลยี่นแปลงด้านจิตสังคมในระยะตั้งครรภ์
ปัจจัยส่วนบุคคลของสตรีมีครรภ์ ได้แก่วุฒิภาวะทางอารมณ์ ความพึงพอใจในชีวิตสมรสสัมพันธภาพกับ มารดา อัตมโนทัศน์และการรับรู้เกี่ยวกับการตั้งครรภ
ปัจจัยด้านครอบครัว ครอบครัวมีบทบาทที่สําคัญต่อการปรับตัวของสตรีมีครรภ์
ปัจจัยด้านสังคมและระบบบริการสุขภาพ แม้ว่าการตั้งครรภ์จะเป็นเหตุการณ์ปกติทางสังคม
3.9 การพยาบาลภาวะไม่สุขสบาย
ระบบทางเดินอาหาร (Gastrointestinal tract)
อาการ
คลื่นไส้ อาเจียน (morning sickness)
แสบร้อนบริเวณหัวใจ (heartburn)
ริดสีดวงทวาร (hemorrhoids)
น้ําลายมาก ( ptyalism, salivation)
เหงือกอักเสบ (gingivitis)
ใจสั่น เปน็ ลม (tachycardia, fainting and supine hypotension)
เส้นเลือดขอด (varicose veins)
ระบบหายใจ (Respiratory system)
อาการ
ปวดหลัง ปวดถ่วงและปวดบริเวณข้อต่อต่างๆ (backache, pelvic pressure and joint pain)
หายใจตื้นและลําบาก (shortness of breath)
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ (Renal system)
อาการ
ปัสสาวะบ่อย (Urinary frequency)
ระบบผิวหนัง (Integument system)
อาการ
คัน (pruritus)
ระบบประสาท (Neurological system)
อาการ
ปวดศีรษะ
อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย (mood swings)
ปวด เจ็บ และชาที่ข้อมือ (periodic numbness, tingling of fingers)
อาการอื่นๆ (Miscellaneous conditions)
อ่อนเพลีย (fatigue)
บวมที่เท้า (swelling of the feet)
ตกขาว (leucorrhea)