Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในระยะที่หนึ่งถึงสี่ของการคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลในระยะที่หนึ่งถึงสี่ของการคลอด
การรับใหม่ผู้คลอด
1.ซักประวัติ
1.1 ข้อมูลทั่วไป
1.2อาการสําคัญที่มาโรงพยาบาล
1.3 ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบัน
1.4 ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต
1.5 ประวัติการเจ็บป่วยในอดีตและปัจจุบัน
1.6 ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
การตรวจร่างกาย
2.1 การตรวจร่างกายทั่วไป
2.1.1 ชั่งน้ําหนัก วัดส่วนสูง และการสังเกตความผิดปกติของโครงสร้างกระดูก
2.1.2 ตรวจสัญญาณชีพ
2.1.3 ตรวจลักษณะร่างกายทั่ว ๆ ไป (general appearance)
2.1.4 ตรวจร่างกายตามระบบต่าง ๆ ดังนี้
-ระบบประสาท
-ระบบหัวใจและการไหลเวียนของเลือด
-ระบบการหายใจ
-ระบบทางเดินอาหาร
-ระบบทางเดินปัสสาวะ
-ระบบสืบพันธุ์
-ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
-ระบบผิวหนังและเนื้อเยื่อ
2.2 การตรวจร่างกายเฉพาะที่
2.2.1 ตรวจครรภ์ ประกอบด้วยการ ดู คลํา และการฟัง
2.2.3 ตรวจความก้าวหน้าของการคลอดภายใน
ข้อบ่งชี้ในการตรวจทางช่องคลอด (Per vagina)
1) เมื่อรับใหม่ผู้คลอดที่ไม่มีข้อห้ามทุกราย เพื่อประเมินว่า ผู้คลอดอยู่ในระยะใดของการคลอด
2) ตรวจดูความก้าวหน้าของการคลอดเ มื่อถึงเวลาอันเหมาะสมในการตรวจ ตามระยะเวลาที่กําหนด
3) สงสัยทารกท่าผิดปกติ
1 more item...
ข้อห้ามในการตรวจทางช่องคลอด (Per vagina) ที่สำคัญ
1) มีเลือดออกทางช่องคลอด
2) ครรภ์ยังไม่ครบกําหนด
3) มีการอักเสบบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ ซึ่งอาจเป็นสาเหตุให้หญิงตั้งครรภ์เจ็บปวดมากหรือมีเลือดออกง่าย
การPVในแตล่ะครั้งจะประเมินสิ่งต่อไปนี้
1) การเปิดขยายของปกมดลูก (dilatation of cervix) ประเมินความกว้างเป็นเซนติเมตร
2) ความบางของปากมดลูก (effacement of cervix) ประเมินการบางเป็นร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์
3) สภาพถุงน้ําทูนหัว (membrane) โดยการประเมินว่าถุงน้ําทูนหัวยังมีอยู่(membrane intact : MI) รั่ว (membrane leakage : ML
1 more item...
2.3 ตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory test) หญิงตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ ส่วนใหญ่จะได้รับการตรวจ hematocrit, blood type, Rh test, VDRL, HBsAg ประมาณ 1-2 ครั้งก่อนคลอดเมื่อรับใหม่ในรายที่ปกติอาจ ไม่จําเป็นต้องตรวจอีก
การเตรียมผู้คลอด
3.1 การเตรียมด้านร่างกาย
การเตรียมบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
การสวนอุจจาระ
3.การทําความสะอาดร่างกาย
3.2 การเตรียมด้านจิตใจ
1) แสดงพฤติกรรมต้อนรับผู้คลอดด้วยสีหน้าที่ยิ้มแย้ม ใช้คําพูดที่สุภาพ
2)แสดงพฤตกิรรมยอมรับการแสดงออกของผู้คลอด
3) ปฐมนิเทศผู้คลอดเกี่ยวกับสถานที่ เช่น ห้องน้ํา ห้องส้วม ห้องรอคลอด
4)ภายหลังการประเมินสภาพด้วยการซักประวัติและตรวจร่างกายแล้ว
5)ปฏิบัติการพยาบาลด้วยความนุ่มนวล
6)หลังจากเตรียมผู้คลอดเพื่อการคลอดแล้ว
1 more item...
การบันทึกรายงานการรับใหม่
การบันทึกการพยาบาลเมื่อรับใหมผู่้คลอดหลังจากประเมินสภาพผู้คลอดและให้การพยาบาล เมื่อรับใหม่แลว้ ควรลงบันทึกการพยาบาล (nurses' note)
การเฝ้าคลอด
1.การประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
1.1การหดรัดตัวของมดลูก
ระยะหดรัดตัว (Duration) คือระยะเวลาที่มดลูกหดรัดตัวจนกระทั่งเริ่มคลายตัว
ระยะพัก (Resting stage) คือระยะที่มดลูกคลายตัวก่อนที่จะมีการหดรัดตัวครั้งต่อไป
-ระยะห่างในการหดรัดตัวของมดลูก (Interval ) คือระยะเวลาที่มดลูกเริ่มหดรัดตัวครั้งหนึ่งจน กระทั่งมดลูกเริ่มหดรัดตัวอีกครั้งหนึ่ง ระยะ Interval จะมากน้อยชื้นอยู่กับระยะของการคลอด
ความแรงในการหดรัดตัวของมดลูก (Intensity หรือ Severity of uterine contraction)
ความถี่ของการหดรัดตัวของมดลูก (Frequency)
2.2 การสั้นบางและการเปิดขยายของปากมดลูก
การสั้นบางของปากมดลูก (Effacement)
การเปิดขยายของปากมดลูก (Dilatation)
2.3 การเคลื่อนต่ำของส่วนนํา
การเฝ้าคลอดโดยใช้ WHO Partograph
WHO Partographคือกราฟแสดงความก้าวหน้าของการคลอดในระยะที่1สัมพันธ์กับเวลา
วัตถุประสงค์ประสงค์สําคัญคือ
-หาความก้าวหน้าของการเจ็บครรภ์ที่ผิดปกติได้ก่อน และส่งต่อได้เหมาะสม
-ช่วยให้การคลอดดําเนินต่อไปโดยการเร่งคลอด
-การทําให้การเจ็บครรภ์คลอดสิ้นสุดลง
การใช้WHOPartographใช้กับผู้คลอดที่เข้าสู่ระยะที่1ของการคลอดหรือรายที่ถุงน้ําแตกหรือรายที่ต้องการชักนําให้เกิดการคลอดโดยต้องมีการเจ็บครรภ์สม่ำเสมอ
ส่วนประกอบของกราฟที่สําคัญ 4ส่วน
สภาพของทารกในครรภ์ (fetal conditions)
ความก้าวหน้าของการคลอด (progress of labor)
การให้ยาและการรักษา (drugs and treatments): Induction , Augmentation
สภาพของมารดา (maternal conditions): vital signs
ข้อยกเว้นในการใช้ WHO Partograph
1) premature labor pain ที่มีอายุครรภ์น้อยกว่า 34 สัปดาห์
2)เจ็บครรภ์ใกล้จะคลอดที่ปากมดลูกเปิดยาว9-10เซนติเมตร
3) ไม่ต้องการให้มีการเจ็บครรภ์คลอด เช่น การนัดผ่าตัดคลอด
4) มีความจําเป็นเร่งด่วนสําหรับการผ่าตัดคลอดฉุกเฉิน ภายใน 1 ชั่วโมงหลังรับไว้
5) มีความเสี่ยงสูง (high risk) ต่อการเจ็บครรภ์คลอดและการรักษา
การย้ายผู้คลอดเข้าห้องคลอด
3.การพยาบาลระยะที่1ของการคลอด
การพยาบาลด้านสุขวทิ ยาส่วนบุคคล
1.1 การรับประทานอาหาร เนื่องจากในระยะ latent การดูดซึมและการย่อยอาหารจะชา้ ลงจึงควรดูแล ให้ผู้คลอดรับประทานอาหารอ่อน ย่อยง่าย ส่วนในระยะ active การย่อยและการดูดซึมอาหารจะช้าลงมาก
1.2 การขับถ่าย
1.2.1 การขับถ่ายปัสสาวะ เมื่อส่วนนําของทารกเคลื่อนต่ำลงมากดกระเพาะปัสสาวะมากข้ึน ผู้คลอดจะ ถ่ายปัสสาวะบ่อยคร้ังแต่ออกไม่หมด ถ่ายปัสสาวะลําบากทําให้กระเพาะปัสสาวะเต็มได้บ่อย
1.2.2 การขับถ่ายอุจจาระ หลังจากสวนอุจจาระเมื่อรับใหม่แล้ว 12-24 ชั่วโมง หากยังไม่คลอดควรสวน อุจจาระซ้ำในรายที่ไม่มีข้อห้ามโดยสวนทุก12 ชั่วโมง
1.3 การพักผ่อนและการนอนหลับ
1.4ท่าของผู้คลอดและการทํากิจกรรมท่าของผู้คลอดในระยะรอคลอดมีหลายท่า
2.การพยาบาลเพื่อบรรเทาความเจบ็ปวดความเจ็บปวดเกิดจากการรับรู้ต่อความเจ็บปวดที่มากระตุ้นของตัวรับ รู้บริเวณไขสันหลังและสมอง
3.การพยาบาลด้านจิตสังคมในระยะlatentที่ผู้คลอดรู้สึกเจ็บครรภ์เล็กน้อยโดยมีความการตั้งครรภ์กําลังจะสิ้นสุดลง แต่ก็อาจรู้สึกกลัวหรือวติกกังวลบ้าง ซึ่งทําให้ผู้คลอดแสดงพฤติกรรมบางอย่างออกมา
การพยาบาลในระยะที่สองของการคลอด
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาและจิตสังคมในระยะที่สองของการคลอด
การเปลี่ยนแปลงของแรงผลักดันทารก ได้แก่ แรงจากการหดรัดตัวของมดลูกและการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้องและกระบังลม
การเปลี่ยนแปลงของทารก
การเปลี่ยนแปลงของพื้นเชิงกรานและฝีเย็บ
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคม
ระยะที่สองของการคลอดผู้คลอดจะมีความเครียดมากขึ้น เนื่องจากผู้คลอดเหนื่อย อ่อนเพลียมีการ รับรู้ความเจ็บปวดรุนแรงมากขึ้น ทําให้ผู้คลอดแยกตัว ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม มคี วามสามารถในการตัดสินใจ ลดลงและอาจแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว
การทําคลอดปกติ
การเตรียมคลอด
1.1 การเตรียมสถานที่
1.2 การเตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ในการทําคลอด
1.3 การเตรียมผู้คลอด
1.4 การเตรียมผู้ทําคลอด
การช่วยเหลือการคลอด
2.1 การทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
2.2 การปูผ้า
2.3 การเชียร์เบ่ง
2.4 การตัดฝีเย็บ (episiotomy)
2.5 การทําคลอดศีรษะ
1 more item...
บทบาทหน้าที่ของผู้ช่วยผู้ทําคลอด
กระบวนการพยาบาลในระยะที่สองของการคลอด
การพยาบาลในระยะที่สามและระยะที่สี่ของการคลอด
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาในระยะที่สามของการคลอด
กลไทการลอกตัวของรกและการทําคลอดรก
กระบวนการพยาบาลระยะที่สามของการคลอด
การตรวจการฉีกขาดของช่องทางคลอดและการซ่อมแซมฝีเย็บ
กระบวนการพยาบาลในระยะที่สี่ของการคลอด
การพยาบาลทารกแรกเกิดทันที
1.การประเมินสภาพทารกแรกเกิดทันทีในห้องคลอดโดยการประเมินการให้คะแนน APGARscore
การดูแลทารกแรกเกิดทันที
ตัวอย่างแผนการพยาบาลทารกแรกเกิดทันที
การเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคมของผู้คลอดในระยะที่หนึ่งของการคลอด
ความวิตกกังวล หรือความเครียด (anxiety or stress)
ความกลัว (Fear)
ความอ่อนล้า หมดแรง (exhaustion)
การคลอดก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งทางสรีรวิทยาและ จิต สังคมอย่างมาก หากพยาบาลเข้าใจการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเป็นอย่างดีก็จะสามารถช่วยเหลือให้มีความก้าวหน้าของการคลอดได้ตามปกติ ซึ่งจะช่วยให้ผู้คลอดและทารกมีความปลอดภัยในการคลอดมากขึ้น